โครงการพัฒนาคุณภาพแอลกอฮอล์ของโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา = improvement of alcohol product in Royal Jitralada Project / Teerapatr Srinorakutara..[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Budhaka, Paipan | Kuwaranancharoen, Chulaporn | Malailert, Prasit | Niwasabutra, Kanidta | Nusuwan, Orapen | Pattanakhajon, Praguypet | Puenpipob, Wisitporn | Saman, Premsuda | Sittipol, Jaruwan | Srinorakutara, Teerapatr | Thaworn, Chumporn | Wiangkaew, Chaiyan | Wijanrattakhan, Parot | เผื่อนพิภพ, วิศิษฐ์พร | ไชยยันต์ เวียงแก้ว | จุฬาพร คุวารนันท์เจริญ | ชุมพร ถาวร | ขนิษฐา นิวาศะบุตร | ไพพรรณ บุตกะ | พัฒนาขจร, ประกายเพชร | ประสิทธิ์ มาลัยเลิศ | พรศ วิจารณ์รัฐขันธ์ | ธีรภัทร ศรีนรคุตร | เปรมสุดา สมาน | จารุวรรณ สิทธิพล | หนูสุวรรณ, อรเพ็ญ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 43-02 ; Rep. no. 1 ; อ.-น. 43-02 ; รายงานฉบับที่ 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2002. รายละเอียดตัวเล่ม: 153 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการพัฒนาคุณภาพแอลกอฮอล์ของโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดาหัวเรื่อง: Alcohol | Ethanol | Fermentation | Molasses | Royal Jitralada Project | Saccharomyces cerevisiae | Zymomonas spสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: The effective factors of ethanol production process from molasses had been investigated by comparing 10 microorganism strains (consisting of 8 strains of Saccharomyces cerevisiae and 2 strains of Zymomonas sp.) molasses concentration, supplemented nutrient, pH and temperature ranges. To control fermented broth at a high ethanol concentration and small amount of fusel oils, these factors were therefore optimized. Experimental result showed that the best ethanol producing strain was Saccharomyces cerevisiae TISTR 5606 (SC 90) and optimum conditions for fermentation were 20 percent Brix of molasses concentration. 0.03 percent (v/v) (NH4)2SO4, 30 degree celsius, and pH 4.5 with a maximum yield at 8 percent v/v of ethanol concentration and 1474 ppm of fusel oils at 36th hour of fermentation.สาระสังเขป: To get rid of impurities from fermented broth in distillation step, the distillation tower of Jitralada Royal Project was improved by installing some equipment, piping and reflux systems. Connecting of new piping and refuse system with test-run were not completed due to lack of time to stop column operation for modification. These tasks will be completed later on. To reduce alcohol of Jitralada Royal Project, 3,000 litres of 95 percent v/v alcohol was transferred to TISTR for dehydration to 99.5 percent v/v and returned to Jitralada Royal without any charge. Besides, the researcher group presented a blue print of distillation tower to Her Royal Highness Princess Maha Jakri Sirindhorn since 16 May, 2001. - Authors.สาระสังเขป: Using chemical method to separate fusel oils from 95 percent v/v of ethanol, 4 types of absorbent consisting of carbon powder, absorbent paper, silica gel and zeolite were used for comparison. It was found that the best absorbent in this study was silica ge. It could sbsorb impurities and reduce the amounts of methanol. 1-propanol, isobutanol and iso-amyl alcohol up to 61.9 percent, 89.6 percent, 90.5 percent and 94.1 percent respectively.สาระสังเขป: ในส่วนของการกำจัดสารเจือปนต่าง ๆ ในขั้นตอนการกรั่น คณะผู้วิจัยได้ทำการปรับปรุงหอกลั่นโดยติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ และทำระบบท่อ/ระบบบรีฟลั๊กซ์เกือบสมบูรณ์แล้ว แต่ไม่สามารถติดตั้งระบบท่อซึ่งต้องเชื่อมติดกันกับตัวหอกลั่น รวมถึงการทดลองกลั่นได้ เนื่องจากยังไม่สามารถจัดเวลาหยุดเดินเครื่องเพื่อเชื่อมต่อระบบท่อใหม่ได้ ซึ่งจะได้จัดทำพร้อมทั้งทดสอบการเดินเครื่องและปรับปรุงอีกเล็กน้อยต่อไป. คณะผู้วิจัยได้ทำการขนย้ายแอลกอฮอล์ 95% v/v จำนวน 3,000 ลิตร จากโครงการส่วนพระองค์ไปกลั่นเป็นแอลกอฮอล์ 99.5% v/v ที่โรงงานต้นแบบของ วท. และส่งคืนให้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย, นอกจากนี้คณะผู้วิจัยได้ ทูลเกล้าถวายแบบพิมพ์เขียวของหอกลั่น (แบบหอกลั่นเดิมซึ่งผู้ออกแบบเดิมไม่ได้เขียนไว้ แบบที่ปรับปรุงระบบท่อ/ระบบรีฟลั๊กซ์ และแบบระบบกำจัด fusel oils ในหอกลั่นพร้อมสำหรับให้ โครงการส่วน พระองค์นำไปดำเนินการได้ทันที แต่ในโครงการนี้มีข้อจำกัดด้านงบประมาณจึงไม่สามารถดำเนินการได้) แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2544.สาระสังเขป: การศึกษาผลของปัจจัยต่าง ๆ ในกระบวนการผลิตแอลกอฮอล์จากกากน้ำตาลต่อการเกิดสารเจือปนต่าง ๆ โดยเปรียบเทียบสายพันธุ์ยีสต์ Saccharomyces cerevisiae 8 สายพันธุ์ และแบคทีเรีย Zymomonas sp. 2 สายพันธุ์ ความเข้มข้นของกากน้ำตาล, อาหารเสริฒ, pH และอุณหภูมิ ซึ่งส่งผลกระทบต่อกระบวนการหมักแอลกอฮอล์และการเกิดสารเจือปนต่าง ๆ เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมในกระบวนการผลิต. พบว่าสายพันธุ์ยีสต์ที่เหมาะสมที่สุดในการผลิตแอลกอฮอล์ คือ Saccharomyces cerevisiae TISTR 5606 (SC90) โดยมีสภาวะในการหมักที่เหมาะสม คือ ความเข้มข้นของกากน้ำตาลในอาหาร 20% Brix, อาหารเสริม (NH4)2 SO4 0.03% (v/v) ค่าความเป็นกรด - ด่าง ไม่ต้องปรับ pH (ประมาณ 4.5), อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส โดยจะผลิตแอลกอฮอล์ได้สูงสุด 8% v/v ในชั่วโมงที่ 36 ของการหมักและเกิดสารเจือปนต่าง ๆ 1474.07 ppm.สาระสังเขป: ส่วนการศึกษาการใช้วิธีทางเคมีในการกำจัด fusel oils (ส่วนที่ทำเพิ่มไม่ได้เสนอในข้อเสนอโครงการ) โดยใช้ผงคาร์บอน, แผ่นดูดซับ ซิลิกา เจล (silica gel) และ ซีโอไลท์ (zeolite). พบว่าการใช้ silica gel สามารถลดปริมาณ fusel oils ได้มากที่สุดโดยมีปริมาณสารเจือปนต่าง ๆ ที่ลดลงดังนี้ methanol 61.90%, 1-propanol 89.64%, iso-butanol 90.52% และ iso-amyl alcohol 94.12%.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2002/1199
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2002/1199-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300