โครงการพระราชดำริการเกษตรดินทรายชายทะเล = his majesty's project of agricultural development of coastal sandy soil / Srivan Chomchalow...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chalermglin, Piya | Chitnawasarn, Samard | Chomchalow, Srivan | Kovitvadhi, Kovit | Promphetchara, Smorn | ปิยะ เฉลิมกลิ่น | โกวิทวที, โกวิท | ศรีวรรณ โฉมเฉลา | สามารถ จิตนาวสาร | พรมเพ็ชร์, สมร | Thailand Institute of Scientific and Technological Research <Agricultural Research Division=Agro-technology Department>
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 23-07 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1983 รายละเอียดตัวเล่ม: 44 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการพระราชดำริการเกษตรดินทรายชายทะเลหัวเรื่อง: Agricultural development | Agriculture | Coastal soils | King's project | Sandy soilsสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: In 1978, the Thailand Institute of Scientific and Technological Research, TISTR (Formerly the Applied Scientific Research Corporation of Thailand, ASRCT), was asked by Chumphon Province to cooperate in the Project on "Agricultural Development of Coastal Sandy Soil", the idea of which has been given by His Majesty the King in order to develop such an area. His Majesty has permitted that the project operates on a piece of land belonging to the royal property, about 442 rai at Tham Thong Village, Pak Khlong District, Amphoe Pathiu, Chumphon Province. The project began in 1979, with the support both in the form of land clearing, road building and operating fund by Chumphon Province as well as other international and private institutes, such as, International Protein Research Company, International Board for Plant Genetic Resources, Nithiwana Company, and the Coordinating Committee for His Majesty's Projects. The annual budgets from the government were also received during 1981-1984.สาระสังเขป: In 1983, nine fruit trees were added to the experiment, namely Artocarpus heterophyllus Lamk. (jackfruit), Sandoricum indicum Cav. (santol), Tamarindus spp. (sweet tamarind), Pumica granatum Linn. (pomegranate), Ananus comosus (L.) Merr. (pineapple), phyllanthus acidus (L.) (star gooseberry), Manihot esculenta Crantz (cassava), Baccaurea sopida Buell. Arg (Chinese lantern tree) and Annona squamosa Linn. (castard apple). Authors.สาระสังเขป: Observations made on crops under experimentation indicate that the rate of plant growth was very slow as would be expected from low fertility soil and low rainfall. However, the following species of trees and crops were found to demonstrate different degrees of adaptation (a) very good growth: Casuarina equisetifolia, Eucalyptus camaldulensis, Acacia mangium, Albizia falcataria (b) good growth: Tamarindus indicus Linn. (tamarind), Mangifera indica Linn. (mango), Brachiaria brizantha (signal grass), Centrosema pubescens (Centrosema), Vigna sinensis (vigna), Hibiscus sabdariffa (roselle) (c) fair growth: Euphobia tirucalli Lim. (euphobia), Cocos nucifera Linn. (coconut), Leucaena leucocephala (leucaena) (d) poor growth: Jatropha curcas L, Psophocarpus tetragonolobus (L.) DC (winged bean), and Anacardium occidentale (cashewnut).สาระสังเขป: Two main activities were attempted at the beginning; first, the establishment of working and living facilities for the staff, the second, research and demonstration. However, research and demonstration works were actually started in 1982. At the present time, approximately 130 rai were cleared for housing, water supply system, road etc. and for research activities. The rest of the area will be cleared for research on economic important crops.สาระสังเขป: ในปี พ.ศ. 2521 คณะกรรมการจังหวัดชุมพร โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ได้ขอความร่วมมือมายังสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) เพื่อทำการศึกษาวิจัยงานทางด้านการเกษตร, โดยหาทางใช้ประโยชน์พื้นที่ดินทรายอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ. ที่ดินแปลงนี้ตั้งอยู่ ณ หมู่บ้านถ้ำธง, ตำบลปากคลอง, จังหวัดชุมพร มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 442 ไร่ 2 งาน. วท. ได้ตกลงให้ความร่วมมือ แต่ในระยะแรก วท. ไม่สามารถจัดหางบประมาณให้ได้. ในปี พ.ศ. 2522 พนักงาน วท., โดยสาขาวิจัยการเกษตรได้เริ่มปฏิบัติงาน โดยคณะกรรมการจังหวัดชุมพร ได้จัดสรรเงินอุดหนุนพิเศษของจังหวัดให้ทำการบุกเบิกที่ดินส่วนหนึ่ง. ในปี พ.ศ. 2523 ได้รับเงินอุดหนุนจากบริษัท International Protein Research Company (IPRC) เป็นค่าสร้างบ้านพักและค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางของพนักงาน. นอกจากนี้ International Board for Plant Genetic Resources (IBPGR) ยังได้ให้เงินอุดหนุนในการปฏิบัติงานของโครงการ. ในปี พ.ศ. 2524 ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ได้อนุมัติเงินอุดหนุนเป็นค่ากังหันลมเพื่อผลิตไฟฟ้าและค่าใช้สอยอื่น ๆ. นอกจากนี้ บริษัท นิธิวนา จำกัด ได้ให้เงินอุดหนุนการวิจัยการหากรรมวิธีการเพาะกล้าและการปลูกกระถินยักษ์.สาระสังเขป: ในปี พ.ศ. 2525 ทาง วท. ได้อนุมัติเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้โครงการนี้เป็นปีแรก. นอกจากนี้ในปีเดียวกันนี้ยังได้รับเงินอุดหนุนจากคณะกรรมการพิเศษประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากระราชดำริ (กปร.). สำหรับในปี พ.ศ. 2526-2527 ได้รับเงินงบประมาณจาก วท.สาระสังเขป: การปฏิบัติงานนี้แบ่งเป็นงานสาธารณูปโภคและงานวิจัย. ในระยะแรกของโครงการคือ พ.ศ. 2522-2524 มีความขาดแคลนทั้งทางการเงินและบุคลากร, การสาธาณูปโภคทั้งหลายเพื่อพนักงานได้อยู่อาศัยเพื่อปฏิบัติงานวิจัยได้ รวมทั้งการหาแหล่งน้ำจืดเพื่อการใช้สอยและบริโภคนั้นเป็นงานอันดับแรก. งานวิจัยเพิ่มเริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2525 ขณะนี้มีพื้นที่บุกเบิกแล้วประมาณ 130 ไร่. ได้จัดทำที่อยู่อาศัยและทำการทดลองงานทางด้านเกษตร. สำหรับงานวิจัยมีเป้าหมายที่จะปลูกพืชต่าง ๆ ให้เต็มพื้นที่ที่บุกเบิกแล้วภายในปี พ.ศ. 2526. สำหรับพื้นที่เหลือจะให้ทำการบุกเบิกและทดลองปลูกพืชที่เหมาะสมทางเศรษฐกิจในปีต่อ ๆ ไป.สาระสังเขป: จากผลงานการวิจัยระหว่างปี พ.ศ. 2522-2525 พอสรุปได้ว่า การเจริญเติบโตของพืชส่วนใหญ่ไม่ค่อยดีนัก เนื่องจากสภาพแห้งแล้ง และดินซึ่งขาดความอุดมสมบูรณ์จัด. พืชที่เจริญเติบโตได้ดีที่สุดคือ สนทะเล (Casuarina equisetifolia), ยูคาลิปตัส (Eucalyptus camaldulensis), Acacia mangium, Albizia falcataris, มะขาม, มะม่วง, หญ้าซิกแนล และ ถั่วเซยโตรซีมา, ถั่วดำและกระเจี๊ยบแดง. พืชที่เจริญเติบโตได้ดีปานกลางคือ พญาไร้ใบ, มะพร้าว และกระถินยักษ์. ส่วนพืชที่มีการเจิรญเติบโตค่อนข้างต่ำคือ มะม่วงหิมพานต์, ถั่วพู และ สบู่ดำ. ในปี พ.ศ. 2526 ได้เริ่มทดลองปลูกไม้ผลและอื่น ๆ อีก 10 ชนิด คือ ขนุน, สะท้อน, มะขามหวาน, ทับทิม, สับปะรด, มะยม, มันสำปะหลัง และพืชเลี้ยงสัตว์. สำหรับในปี พ.ศ. 2527 ได้เพิ่มการทดลองปลูกไผ่ตงเพื่อการบริโภคสดและแปรรูป, นอกจากนี้ยังทดลองปลูกพืชระยะสั้นเพื่อบริโภคสดและแปรรูปคือ ขิง และมะเขือเทศ. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1983/610
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1983/610-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP1983/610-3

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300