เทคโนโลยีการปรับสภาพกากมันสำปะหลังสำหรับกระบวนการผลิตเซลลูโลสิกเอทานอล = Cassava waste pretreatment technology for cellulosic ethanol production / Kitti Orasoon, Vishnu Panpan and Thaparit Kunhanont

โดย: Kitti Orasoon, Vishnu Panpan and Thaparit Kunhanont
ผู้แต่งร่วม: Kitti Orasoon | Vishnu Panpan | Thaparit Kunhanont | กิตติ อรสูญ | วิษณุ ปั้นพันธุ์ | เทพฤทธิ์ กัณหานนท์
BCG: สิ่งแวดล้อม TRM: พลังงานและสิ่งแวดล้อม Language: Thai ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2565 รายละเอียดตัวเล่ม: 54 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ข้อมูลสิทธิบัตร | โครงการวิจัยที่ ภ.64-07 การเพิ่มผลผลิตในกระบวนการผลิตเอทานอลจากมันสำปะหลังด้วยเทคโนโลยีเซลลูโลสิกเอทานอลสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: This research aims to develop pretreatment technology for cassava stillage residue (CSR) for cellulosic ethanol production by using CSR from cassava-based ethanol production. The result of CSR chemical composition was 29.35±1.05% cellulose, 19.76±0.02% lignin, 2.08±0.35% hemicellulose and 12.13±0.33% ash but starch composition remaining in CSR was only 1.72±0.02%. The result showed that hydrolysis of cassava sludge by co-enzymatic system was found to produce a concentration of reducing sugar in the range of 9-10 g/l by using cassava sludge 15% by weight when the presence of glucoamylase in hydrolysis system. No effect of alpha- Amylase and cellulase on CSR hydrolysis without a pretreatment step. The results of the study of factors affecting the steam pretreatment of cassava sludge showed that the optimum reaction temperature was 180oC and the solid/liquid percentage was 10. 49.14±0.57 g/l using 15% solids after pretreatment by weight. The percentage conversion (% conversion) was only 29.48%. The results of the study of factors affecting the base treatment of cassava sludge showed that the optimum conditions were obtained, the optimum reaction temperature was 120oC, the percentage of solids used in the cassava sludge pretreatment was 15% and the optimum base concentration was 6%. The reducing sugar was 17.61±1.84 g/l by using the solid after treatment equal to 5% by weight. The percentage change can be calculated. (%Conversion) was only 31.70%. Optimization of CSR pretreatment with NaOH by using Box-Behnken Design showed that the optimum condition was 110oC reaction temperature, 10.75% solid loading and 6.78% NaOH can be produced reducing sugar concentration22.79±0.43 g/L by 5% substrate 31.70% Conversion and 47.77±0.93% solid loading.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้มีเป้าหมายในการศึกษาเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการปรับสภาพกากตะกอนส่า มันสำปะหลังสำหรับกระบวนการผลิตเซลลูโลสิกเอทานอล โดยใช้กากตะกอนส่ามันสำปะหลัง หลังการกลั่นและแยกน้ำเป็นวัตถุดิบในการศึกษามีผลการทดลองดังนี้ การศึกษาองค์ประกอบกากตะกอนส่ามันสำปะหลัง พบว่า มีองค์ประกอบหลักของเส้นใย เป็นเซลลูโลสร้อยละ 29.35±1.05 องค์ประกอบลิกนินร้อยละ 19.76±0.02 องค์ประกอบ เฮมิเซลลูโลส ร้อยละ 2.08±0.35 และ องค์ประกอบเถ้าร้อยละ 12.13±0.33 โดยมีปริมาณแป้ง เหลืออยู่ในกากตะกอนส่ามันสำปะหลังร้อยละ 1.72±0.02. การไฮโดรไลซิสกากตะกอนส่ามันสำปะหลังด้วยระบบเอนไซม์ร่วม พบว่าสามารถผลิตความ เข้มข้นของน้ำตาลรีดิวซ์ได้ในช่วง 9-10 กรัมต่อลิตร โดยใช้กากตะกอนมันสำปะหลังร้อยละ 15 โดย น้ำหนัก เมื่อมีเอนไซม์กลูโคอะไมเลสในระบบ ส่วนเอนไซม์อื่นๆ ไม่ส่งผลบวกต่อการไฮโดรไลซิสโดย ไม่ผ่านขั้นตอนการปรับสภาพ. ผลการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลในการปรับสภาพด้วยไอน้ำของกากตะกอนส่ามันสำปะหลัง พบว่า ที่อุณหภูมิในการทำปฏิกิริยาที่เหมาะสมเท่ากับ 180 องศาเซลเซียส และร้อยละของแข็งต่อของเหลว เท่ากับ 10 โดยสามารถผลิตน้ำตาลรีดิวซ์ได้เท่ากับ 49.14±0.57 กรัมต่อลิตร โดยใช้ของแข็งหลัง การปรับสภาพเท่ากับร้อยละ 15 โดยน้ำหนัก สามารถคำนวณการร้อยละการเปลี่ยนแปลง (%Conversiob) ได้เพียง ร้อยละ 29.48.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300