เทคนิคไมโครเอนแคปซูเลชันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความคงตัวของสารออกฤทธิ์ชีวภาพจากมะหลอด = Microencapsulation technique for efficiency and stability enhancement of bioactive compounds from bastard oleaster (elaeagnus latifolia l.) / Supaporn Lekhavat [et al.]

โดย: Supaporn Lekhavat
ผู้แต่งร่วม: Supaporn Lekhavat | Tanvarat Kagsongkram | Chaleeda Brompitakchatchaikul | Ubolwanna Srimongkoluk | Krit Leungsophapun | Kanika Angkan | สุภาภรณ์ เลขวัต | ธัญวรัตน์ กาจสงคราม | ชาลีดา บรมพิชัยชาติกุล | อุบลวรรณา ศรีมงคลลักษณ์ | กฤษ เหลืองโสภาพันธ์ | กรรณิกา อังคาร
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 58-20, Sub Proj. no. 1; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2022 รายละเอียดตัวเล่ม: 101 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยที่ ภ.60-25 เทคนิคไมโครเอนแคปซูเลชันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความคงตัวของสารออกฤทธิ์ชีวภาพจากมะหลอดหัวเรื่อง: มะหลอด | เทคนิคไมโครเอนแคปซูเลชัน | ี่อัลตราโซนิกส์ | เอทานอล | ต้านอนุมูลอิสระสารสนเทศออนไลน์: Click here to access Full-text สาระสังเขป: This research project studied and developed the Bastard Oleaster extracts using microencapsulation technique for enhancement of its efficiency and stability. The study was divided into 3 parts. The first part investigated factors such as, ethanol concentration, temperature and time of extraction, affecting yield and extract efficiency. In addition, the effect of enzyme-assisted-and ultrasonic-assisted extraction was carried out in order to obtain an appropriated extract conditions. The second part developed crude extract in powder form using encapsulation technique in freeze drying process compared to spray drying process. This part studied the effect of type and ratio of encapsulant on bioactive compound and antioxidant activity after drying process. Then, in the third part, the stability of encapsulated extract after exposure to simulated gastric juice (SGI) had been performed.สาระสังเขป: โครงการวิจัยนี้ศึกษาและพัฒนาสารสกัดจากผลมะหลอดโดยเทคนิคไมโครเอนแคปซูเลชั่น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความคงตัวของสารสำคัญที่สกัดจากผลมะหลอด การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน โดยส่วนที่ 1 ทำการศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อปริมาณและประสิทธิภาพสารสกัด ได้แก่ ความเข้มข้นของตัวทำละลายเอทานอล อุณหภูมิ และระยะเวลาในการสกัด พร้อมทั้งศึกษาผลของการใช้เอนไซม์และคลื่นความถี่อัลตราโซนิกส์ช่วยในขั้นตอนการสกัด เพื่อให้ได้สภาวะการสกัดที่เหมาะสม ส่วนที่ 2 ทำการพัฒนาสารสกัดหยาบรูปแบบผง ด้วยเทคนิคเอนแคปซูเลชันโดยกระบวนการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง เปรียบเทียบกับวิธีทำแห้งแบบระบบพ่นฝอย ซึ่งได้ทำการศึกษาชนิดและสัดส่วนของสารปกป้องที่มีผลต่อปริมาณสารชีวภาพและค่าการต้านอนุมูลอิสระหลังผ่านกระบวนการทำแห้ง หลังจากนั้น ในส่วนที่ 3 ทำการศึกษาความคงของสารสกัดหยาบที่ผ่านกระบวนการเอนแคปซูเลชันเมื่อผ่านระบบน้ำย่อยจำลอง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300