อนุสิทธิบัตรเรื่อง:การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเมมเบรนสำหรับกระบวนการผลิตเพปไทด์ไฮโดรไลเซท = Research and development of membrane technology for peptide hydrolysate production / Arisa Jaiyu [et al.]

โดย: Arisa Jaiyu
ผู้แต่งร่วม: Arisa Jaiyu | Julaluk Phunnoi | Passakorn Sueprasit | Nattaporn Chutichairattanaphum | Siriporn Larpkiattaworn | อาริสา ใจอยู่ | จุฬาลักษณ์ พันธ์น้อย | ณัฐพร ชุติชัยรัตนภูมิ | ภาสกร สืบประสิทธิ์ | ศิริพร ลาภเกียรติถาวร
TRM: พลังงานและสิ่งแวดล้อม Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 63-11, Sub Proj. no. 1; no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 20214 รายละเอียดตัวเล่ม: 86 p. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง:การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเมมเบรนสำหรับกระบวนการผลิตเพปไทด์ไฮโดรไลเซท | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:1.เทคโนโลยี การผลิตเมมเบรนแบบเส้นใยกลวงและการวิเคราะห์ทดสอบ 2.ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ พอลิซัลโฟนเมมเบรนแบบเส้นใยกลวง ระดับอัลตราฟิลเตรชัน 3.ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ พอลิซัลโฟนนาโนไทเทเนียมไดออกไซด์เมมเบรนแบบเส้นใยกลวงในระดับอัลตราฟิลเตรชัน จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์:-สามารถใช้งานได้หลากหลายในการกรองระดับอัล ตราฟิลเตรชัน -เพิ่มความสามารถในการต้านทานการอุดตันของเมม เบรน -สามารถใช้กับพอลิเมอร์ได้หลายหลายชนิดหัวเรื่อง: โนโลยีเมมเบรน | รำข้าวสารสนเทศออนไลน์: Click here to access IP-Fulltext สาระสังเขป: เทคโนโลยีเมมเบรนได้ถูกนำมาใช้ในกระบวนการผลิตเพปไทด์ไฮโดรไลเซต เช่น การนำ เอนไซม์กลับมาใช้ใหม่, การทำเอนไซม์ให้บริสุทธิ์ และการแยกส่วนของเพปไทด์ไฮโดรไลเซต อย่างไร ก็ตาม ปัญหาการอุดตันของเมมเบรน ซึ่งจะลดประสิทธิภาพของเมมเบรนยังเป็นข้อจำกัด ที่สำคัญในการใช้งานของเมมเบรน ในโครงการวิจัยนี้ประสบความสำเร็จในการเตรียมอัลตราฟิลเตรชันพอลิซัลโฟนเมมเบรนแบบเส้นใยกลวง ผ่านกระบวนการการแลกเปลี่ยนเฟสที่ได้รับการเหนี่ยวนำ จากตัวไม่ทำละลาย (เอ็นไอพีเอส) เนื่องจากเอนไซม์ส่วนใหญ่มีมวลโมเลกุลอยู่ระหว่าง 10-200 กิโลดาลตัน โบวีนซีรัมอัลบูมิน (บีเอสเอ) ที่มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 67 กิโลดาลตัน ถูกใช้เป็นโปรตีน มาตรฐานในการทดสอบการกักกันของเมมเบรน พอลิซัลโฟนเมมเบรนที่เตรียมได้จากการโครงการนี้ แสดงคุณสมบัติการกรองในระดับอัลตราฟิลเตรชันเป็นอย่างดี โดยสามารถกักกันบีเอสเอได้มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ผลการทดลองนี้แสดงให้เห็นว่า พอลิซัลโฟนเมมเบรนเหมาะสำหรับกระบวนการนำ เอนไซม์กลับมาใช้ใหม่ โดยเหมาะกับโปรตีเอสเอนไซม์ที่มีมวลโมเลกุลสูงกว่า 67 กิโลดาลตัน ยกตัวอย่างเช่น เอนไซม์ไดเพปทิดิล เพปไทด์ 4, เอนไซม์ไดเพปทิดิล เพปไทด์ 5 และเอนไซม์คริสตีน โปรติเอส นอกจากนี้ พอลิซัลโฟนเมมเบรนที่มีอนุภาคระดับนาโนเมตรของไทเทเนียมไดออกไซด์พี 25 แสดงค่าต่ำสุดของการลดลงของฟลักซ์สัมพัทธ์ (อาร์เอฟอาร์) และค่าสูงสุดของอัตราส่วนการกู้คืน ของค่า ฟลักซ์ (เอฟอาร์อาร์) เมื่อเปรียบเทียบกับพอลิซัลโฟนเมมเบรนที่ไม่มีการเติมไทเทเนียมได ออกไซด์ ผลการทดลองนี้แสดงให้เห็นว่าความสามารถในการต้านทานการอุดตันของเมมเบรน สามารถเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อมีการเติมอนุภาคขนาดนาโนเมตรของไทเทเนียมไดออกไซด์พี25 ลงไปในในพอลิเมอร์เมมเบรนเมทริกซ์.สาระสังเขป: Membrane technology has been applied in peptide hydrolysate production such as enzyme recovery, enzyme purification and peptide hydrolysate fractionation. However, the fouling problem which reduces the membrane performance is still the main limitation to the greater use of membranes. In this project, the ultrafiltration polysulfone hollow fiber membranes were successfully prepared via a non-solvent induced phase separation process (NIPS). Because the enzyme has a molecular weight between 10 - 200 KDa, the bovine serum albumin (BSA) which has molecular weight of 67 kDa was used as the standard protein for rejection testing of membranes. The prepared PSU membranes in this project exhibited excellent ultrafiltration performance of>90% in BSA rejection. These results indicated that the PSU membranes were suitable for the recovery of protease enzymes which have molecular weight >67 kDa such as Dipeptidyl peptidase 4, Dipeptidyl peptidase 5 and Cysteine Protease. Moreover, the polysulfone membranes with nanoparticles TiO2-P25 showed the lowest relative flux reduction (RFR) and the highest flux recovery ratio (FRR) compared with polysulfone membranes without TiO2-P25. These results indicated that the fouling resistance of polysulfone membranes could be significantly enhanced by incorporating nanoparticles TiO2-P25 into polymeric membrane matrix.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Available 2022-09-01 IP00127

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300