อิทธิพลของเวลาและวิธีใส่ปุ๋ยที่มีต่อผลผลิตของมินต์ = effects of time and method of fertilizer application on mint (Mentha arvensis L.) yield I / Songkiat Visuttipitakul, Kesorn Porananond, Lakana Pongpa-ngan

โดย: Visuttipitakul, Songkiat
ผู้แต่งร่วม: Pongpa-ngan, Lakana | Porananond, Kesorn | เกษร โปราณานนท์ | ลักขณา พงศ์พงัน | ทรงเกียรติ วิสุทธิพิทักษ์กุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Prmme. no. 62, Res. Proj. no. 62/2 ; Rep. no. 12ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1978 รายละเอียดตัวเล่ม: 18 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: อิทธิพลของเวลาและวิธีใส่ปุ๋ยที่มีต่อผลผลิตของมินต์หัวเรื่อง: Fertilizers | Fertilizers -- Application | Mentha arvensis | Mint | Mint cultivationสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: A field experiment was conducted to study the effects of time and method of fertilizer application on mint plant at Nan Province during the period December 1976 - May 1977. The fertilizers applied was a mixture of ammonium sulphate, double superphosphate and potassium sulphate at the rate of 15 N, 5 P O and 10 K O kg/rai respectively. A factorial design was used. The treatments included three application times: a) single application, all fertilizers were applied before planting, b) two split applications, before planting and after first harvest, c) four split applications, before planting and 1, 2, 3 months after the first application. Methods of application were a) broadcasting and b) band application.สาระสังเขป: Results on mint yields revealed that four split application gave the highest fresh and dry weight while two split and single application gave the similar results. Results from the experiment further showed that methods of application had no effect on mint yields neither at the first nor second harvest. Authorsสาระสังเขป: ได้ทำการทดลองผลของเวลาและวิธีใส่ปุ๋ยต่อผลผลิตของมินต์ที่จังหวัดน่าน ระหว่างธันวาคม 2519 ถึง พฤษภาคม 2520 โดยใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต, ดับเบิลซูเปอร์พอสเฟต และโปตัสเซียมซัลเฟต ในอัตรา 15, 5 และ 10N-P 2 O 5-K 2 0 กก./ไร่ ตามลำดับ. ได้วางแผนการทดลองแบบ Factorial design ซึ่งประกอบด้วยเวลาใส่ปุ๋ย 3 วิธีการ คือ : 1) ใส่ปุ๋ยทั้งหมดก่อนปลูก, 2) แบ่งใส่ 2 ครั้ง คือก่อนปลูกและหลังเก็บเกี่ยวครั้งที่ 1, 3) แบ่งใส่ 4 ครั้ง คือ ก่อนปลูกและหลังจากนั้นทุกเดือน. วิธีใส่ปุ๋ยมี 2 วิธีการ คือ การหว่านและการโรยเป็นแถว.สาระสังเขป: ผลของการทดลองปรากฏว่า เวลาในการใส่ปุ๋ยมีผลทำให้น้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ, กล่าวคือ การใส่ปุ๋ยโดยแบ่งใส่เป็น 4 ครั้ง ให้ผลดีที่สุด. สำหรับการแบ่งใส่ปุ๋ย 2 ครั้งและครั้งเดียวให้ผลผลิตใกล้เคียงกัน.สาระสังเขป: ผลของวิธีใส่ปุ๋ยต่อผลผลิตของมินต์นั้นปรากฏว่า วิธีใส่ปุ๋ยไม่มีผลทำให้น้ำหนักสด, น้ำหนักแห้ง, เปอร์เซ็ฯต์น้ำมัน หรือปริมาณน้ำมันมินต์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติแต่อย่างไร. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1978/482
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1978/482-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300