อนุสิทธิบัตรเรื่อง:ฉลากฉลาดเพื่อบ่งชี้ความสดของอาหารทะเล = Smart label to indicate freshness of seafood / Ratchaneewan Kulchan [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Ratchaneewan Kulchan
ผู้แต่งร่วม: รัชนีวรรณ กุลจันทร์ | บุษกร ประดิษฐ์นิยกูล | วิสะนี เหนือเมฆิน | ภัทรพร เรียงภิรมย์ | ธีราพร รัตนรัตน์ | Ratchaneewan Kulchan | Bussakorn Praditniyakul | Wisanee Neamekin | Phattharaporn Riangpirom | Pornteera Rattanarat
BCG: อาหาร TRM: อาหาร Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 63-027, Sub Proj. no. 3; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2021 รายละเอียดตัวเล่ม: 44 p. tables, ill. ; 30 cm. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง:ฉลากฉลาดเพื่อบ่งชี้ความสดของอาหารทะเล | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:1.เทคโนโลยี/​เครื่องต้นแบบ​ กรรมวิธีการผลิตฉลากบ่งชี้ความสดของอาหารทะเล​ 2.ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ/​ที่พร้อมถ่ายทอด​ ฉลากบ่งชี้ความสดของอาหารทะเล จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์:เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่พัฒนาขึ้น ใช้เตือนผู้ผลิตสินค้าอาหารทะเลสด/ผู้บริโภคถึงคุณภาพหัวเรื่อง: อาหารทะเล | Seafoodสาระสังเขป: ฉลากฉลาดถูกพัฒนาเพื่อวัดระดับคุณภาพของอาหารทะเลระหว่างการขนส่งและการเก็บรักษา เชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ ได้แก่ Listeria monocytogenes, Salmonella spp., Staphylococcus aureus, Escherichia Yersinia Enterocolitica, Bacillus cereus, Enterococcus spp., Escherichia coli คือสาเหตุหลักที่มีผลกระทบกับคุณภาพของอาหารทะเล ฉลากฉลาด 3 ชนิด ถูกเลือกมาวัดใช้วัดสารที่เกิดจากการเสื่อมเสียในอาหารทะเล โดยที่ฉลาก T1 เป็นการผสมกันของสีย้อมกรด-เบส ระหว่างโบรโมครีซอลกรีน และบริลเลียนท์ T2 เป็นการผสมกันระว่างโบรโมครีซอล เพอร์เพิล และ เฮมา และ T3 คือ สีย้อมกรด-เบส ชนิด เฮมา ชนิดเดียว สารละลายสีย้อมและฉลากได้ถูกทดสอบความไวในการตอบสนองกับสารเมตาบอไลต์ของกรดแอซีติที่ระดับความเข้มข้นต่าง ๆ จากนั้นฉลากฉลาดทั้ง 3 ชนิดถูกนำไปทดสอบการใช้งานกับอาหารทะเล ได้แก่ กุ้งต้ม กุ้งสด ปลาสด และ หมึกสดโดยการศึกษาเป็นการศึกษาพลศาสตร์การตอบสนองการเปลี่ยนสีของฉลากฉลาดทั้ง 3 ชนิดที่มีต่อการเสื่อมเสียของอาหารทะเล นอกจากนี้ ฉลากฉลาดยังได้ทำการทดสอบความเสถียรของฉลากฉลาดเมื่ออยู่ในสภาวะอุณหภูมิและความชื้นต่าง ๆ ผลการทดลองปรากฏว่า การเปลี่ยนสีของฉลากลาดทั้ง 3 ชนิดตอบสนองโดยตรงกับสารเมตาบอไลต์ของจุลินทรีย์ที่เจริญ ฉลากฉลาดชนิด T3 และ T1 แสดงการเปลี่ยนสีที่แสดงผลตอบสนองการเสื่อมเสียของอาหารทะเลได้ดี โดย T3 มีค่าการเปลี่ยนแปลงสี (total color difference, TCD) เท่ากับ 37.87, 27.54, 19.14 และ 22.52 ค่า TCD ของ T1 มีค่า 18.27, 12.94, 26.84 และ 8.91 เมื่อวัดการเสื่อมเสียของกุ้งต้ม กุ้งสด ปลาสด และหมึกสด ตามลำดับ สำหรับผลการศึกษาความเสถียรของฉลากฉลาดที่อุณหภูมิและความชื้นต่าง ๆ พบว่า อุณหภูมิมีผลกระทบมากกว่าความชื้น โดยเฉพาะฉลาก T1 และ T3 ดังนั้น การเก็บรักษาและการใช้งานของฉลากฉลาดควรอยู่ที่อุณหภูมิไม่เกิน 30 °ซ.ซึ่งการใช้งานสำหรับอาหารทะเลนี้ใช้ที่อุณหภูมิต่ำเพียง 5 °ซ.จึงสามารถยืนยันผลการใช้งานของฉลากฉลาดที่มีส่วนผลสมของสีย้อมที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถใช้วัดการเสื่อมเสียของอาหารทะเลได้สาระสังเขป: The smart label was developed in order to evaluate the degree of quality of seafood during storage and distribution. Microorganism - Listeria monocytogenes, Salmonella spp., Staphylococcus aureus, Escherichia Yersinia Enterocolitica, Bacillus cereus, Enterococcus spp., Escherichia coli are main types that effect on quality of seafood products. Three smart labels were selected to detect compounds in seafood products: T1 was blending of acid-base dyes between bromocresol green and brilliant, T2 was blending of acid-base dyes between bromocresol purple and haema, and T3 was haema. The dye solution and labels were initially used to evaluate sensitivity to metabolites of acetic acid over the range of concentration. Subsequently, three types of smart labels, T1, T2 and T3, were produced to monitor freshness of boiled shrimp, fresh shrimp and fresh fish. The potential of smart labels was studied based on kinetic approach to correlate the response of these 3 labels to the change during spoilage. In addition, the smart labels were studied humidity and temperature stabilities. The results showed that the change in colour of smart label was directly proportional to metabolites and microbial growth. T3 and T1 showed colour change response product deterioration. Total colour difference (TCD) value of T3 were 37.87, 27.54 and 19.14 and TCD value of T1 were 18.27, 12.94 and 26.84 for boiled shrimp, fresh shrimp and fresh fish respectively. For the evaluation of humidity and temperature stabilities of smart labels, they were found that temperature had more pronounced effect than humidity especially T2 and T3, so the labels were suggested to store at temperature lower than 30 oC ; nevertheless, for the application with seafood under virtual store simulation, it would be stored at 5 oC. This experiment could confirm that dye and mixed dye smart label could be applied with food package referred to intelligent packaging.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Available 2022-09-01 IP00120
Intellectual Property
Not For Loan 2022-06-17 IP000102

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300