อนุสิทธิบัตรเรื่อง เครื่องปฏิกรณ์เบดนิ่งแบบท่อเดี่ยวแบบเปลี่ยนตัวเร่งปฏิกิริยาง่าย = อนุสิทธิบัตรเลขที่ 1501006843 / Rujira Jitrwung [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Rujira Jitrwung
ผู้แต่งร่วม: รุจิรา จิตรหวัง | นิตยา สุดส่ง | จิราพัชร คำพิเดช | กันทิมา เกริกเกียรติสกุล | อนันตชัย วรรณจำปา | ธินวงศ์ เบญจปัญญาวงศ์ | ลลิตา อัตนโถ | กิตติภณ เจริญพรพิทักษ์ | กมลรัตน์ หลีเห้ง | Rujira Jitrwung | Nittaya Sudsong | Chiraphat Kumpidet | Kuntima Krekkeitsakul | Anantachai Wannajampa | Thinnawong Benjapanyawong | Lalita Attanatho | Kittiphon Charoenpornpithak | Kamonrat Leeheng
TRM: พลังงานและสิ่งแวดล้อม Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 57-08, Sub Proj. no. 4; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2020 รายละเอียดตัวเล่ม: 65 p. . tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง การสังเคราะห์น้ำมันไบโอเจ็ทด้วยกระบวนการออโตเทอร์มอลรีฟอร์มมิ่งแบบลูกโซ่ | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:เทคโนโลยีการสังเคราะห์น้ำมันไบโอเจ็ท การนำไปต่อยอด:1.ไบโอเจ็ท/กลุ่มอุตสาหกรรมการบินที่ต้องใช้ไบโอเจ็ท 2.ส่งเสริมให้เกิดการผลิตก๊าซชีวภาพมากขึ้น, ส่งเสริมให้เกิดการผลิตเอทานอลมากขึ้น/กลุ่มชาวไร่และกลุ่มเลี้ยงสัตว์ที่มีวัตถุดิบพวกอินทรีย์สารในการผลิตก๊าซชีวภาพและกลุ่มผลิตเอทานอล 3.เทคโนโลยีการผลิตไบโอเจ็ทในระดับห้องปฏิบัติการ/กลุ่มผู้ประกอบการผลิตก๊าซชีวภาพกลุ่มอุตสาหกรรมอากาศยาน จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์:นำก๊าซชีวภาพมาผลิตเป็นไบโอเจ็ทหัวเรื่อง: แก๊สเรือนกระจก | สภาวะโลกร้อน | Greenhouse Gas | น้ำมันไบโอเจ็ทสารสนเทศออนไลน์: Click here to access IP-fulltext สาระสังเขป: The current emission of greenhouse gas of which contributes to global warming is a part of the aviation transportation causing from fossil fuels. Members of the countries in the European Economic are aware of this problem. Therefore, a stronger policy has been launched to control the emissions of greenhouse gases from flying activities. One of this aviation rules is a taxation of airlines that use fossil fuels to fly over the European territory which resulted in a high demand for bio-jet fuel consumption. In Thailand, the aviation industry still needs to import bio-jet fuel due to the lack of local bio-jet fuel production. The research on bio-jet fuel in Thailand is still in the lab scale and semi pilot scale. The demand of bio-jet fuel is increasing as the air transport industry is growing. However, bio- jet fuel production is insufficient to meet higher demand. Bio-jet fuel mainly obtains from biomass through a process of thermo-chemical reaction. Thailand is an agricultural country which is full of potential crops to produce bio-jet fuel. By converting those crops into bio-jet fuel, it can add more value to the agricultural crops. The bio-jet fuel is research paper series related to a project of bio-methanol. This research aimed to convert methanol to bio-jet by studying engineering parameters in 1) a 500 mL batch reactor and 2) a 16 mm continuous fixed bed reactor. The batch condition was 80 ml of methanol, filling with 4 g the HZSM-5 catalyst operated at temperature under 350oC and obtained agitation speed of 500 rpm. The HZSM-5 catalyst contained the ratio of SiO2/Al2O3 equal to 26 which was prepared by performing calcination at temperature under 550oC. The results obtained from batch were applied to the fixed bed reactor. The suitable condition for the continuous fixed bed reactor was 300oC, 10 bar of pressure and 0.5 ml/min of methanol feed. The product of this process was liquid hydrocarbon contained in a range of C-4 to C-11 by percentage of a paraffin, aromatic and olefin of 32, 59 and 9, respectively..สาระสังเขป: การปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกในปัจจุบันซึ่งนำไปสู่สภาวะโลกร้อน ส่วนหนึ่งมาจาก สายการบินที่เกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก เพราะมีการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกจากเชื้อเพลิงที่ใช้ในการบิน. ประเทศในกลุ่มเศรษฐกิจยุโรป จึงมีการออกมาตรการคุมเข้มในการควบคุมการปล่อยแก๊ส เรือนกระจก. หนึ่งในมาตรการนั้นคือ การเก็บภาษีสายการบินที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในการบินเหนือเขตแดนยุโรป สายการบินจึงต้องหันมาใช้น้ำมันไบโอเจ็ท. ในประเทศไทยมีการนำเข้าผลิตภัณฑ์น้ำมันไบโอเจ็ทจากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาสูงกว่าน้ำมันเครื่องบินปกติค่อนข้างมาก เนื่องจากประเทศไทยยังอยู่ในขั้นการศึกษาวิจัย และยังไม่สามารถผลิตเองได้ อีกทั้งสายการบินต่างๆ มีความต้องการน้ำมันไบโอเจ็ทค่อนข้างมาก ส่งผลให้น้ำมันที่ผลิตขึ้นไม่เพียงพอกับความต้องการ. การได้มาซึ่งไบโอ-เจ็ทนั้นโดยส่วนใหญ่มาจากวัตถุดิบชีวมวลที่ผ่านกระบวนการการทางเคมีความร้อน. ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมที่มีวัตถุดิบจำนวนมาก หากนำวัตถุดิบเหล่านี้มาเปลี่ยนเป็นน้ำมันไบโอเจ็ท จะนำไปสู่การเพิ่มมูลค่าได้. งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยต่อเนื่องจากการผลิตไบโอเมทานอลจากก๊าซชีวภาพ. เมทานอลที่ได้จึงถูกนำมาศึกษาเพื่อผลิตเป็นน้ำมันไบโอเจ็ท โดยทำการศึกษาที่ปัจจัยต่างๆ ในเครื่องปฏิกรณ์ 2 แบบ คือ 1) เครื่องปฏิกรณ์แบบกะ และ 2) เครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิง. สภาวะที่เหมาะสมสำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ คือ ปริมาณเมทานอล 80 มิลลิตร, อุณหภูมิ 350 องศาเซลเซียส, การกวน 500 รอบต่อนาที, ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิด HZSM-5 (อัตราส่วนของ SiO2 : Al2O3 เท่ากับ 26) ซึ่งผ่านการเผาที่ที่เหมาะสมสำหรับเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ คือ อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส, ความดัน 10 บาร์ และอัตราการป้อนของเมทานอลเท่ากับ 0.5 มิลลิลิตรต่อนาที. ผลิตภัณฑ์ไฮโดรคาร์บอนชนิดของเหลวที่ได้อยู่ในช่วงคือ C-4 ถึง C-10 โดยแบ่งเป็นพาราฟิน, แอโรแมติก และโอเลฟิน ร้อยละ 32, 59 และ 9 ตามลำดับ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300