อนุสิทธิบัตรเรื่อง วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากเปลือกของลองกอง = สิทธิบัตรเลขที่ 6/9/56 1301004966 Tuanta Sematong [et al.] (CONFIDENTIAL)

ผู้แต่งร่วม: Tuanta Sematong | Penjai Sematong | Amonrat Khayungarnnawee | Pongsatorn Limsiriwong | Charus Thisayakorn | Rattanasiri Giwanon | Parkpoom Siriarchavatana | Sareeya Reungpatthanaphong | Sarunya Laovitthayanggoon | Sawai Nakakaew, | Wicheian Khoeynuak | Chuleratana Banchonglikitkul | Ubon Rerk-am | เตือนตา เสมาทอง | อุบล ฤกษ์อ่ำ | อมรรัตน์ ขยันการนาวี | พงศธร หลิมศิริวงษ์ | จรัส ทิสยากร | รัตนศิริ จิวานนท์ | ภาคภูมิ ศิริอาชาวัฒนา | สรียา เรืองพัฒนพงศ์ | ศรัญญา เหล่าวิทยางค์กูร | ไสว นาคาแก้ว | วิเชียร เขยนอก | เพ็ญใจ เสมาทอง | ชุลีรัตน์ บรรจงลิขิตกุล
TRM: สุขภาพ กลุ่มสมุนไพร Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-11, Sub Proj. no. 2; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2016 รายละเอียดตัวเล่ม: 74 p. tables, ill. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากเปลือกของลองกอง | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:1.ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากเปลือกของลองกอง - สูตรผลิตภัณฑ์เภสัชโภชนภัณฑ์เพื่อบรรเทาอาการปวดมวนท้องและอาการท้องเสีย การนำไปต่อยอด:1.ข้อมูลการศึกษาในสารสกัดเปลือกลองกองและใบฝรั่งยังสามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้น เพื่อให้ผู้ที่สนใจนำเอาพืชดังกล่าวมาใช้ในการรักษาโรคและคิดค้นผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งเป็นการเพิ่มมูลค่าผลผลิตให้กับเกษตรกรผู้เพาะปลูกลองกองและฝรั่ง จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์:- มีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยสูงต่อผู้บริโภค - เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับพืชเศรษฐกิจชนิดนี้ - ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ยาจากสารสังเคราะห์หัวเรื่อง: ลองกอง | สารสกัดเปลือกลองกอง | โรคท้องเสีย | Long-kong peelsสาระสังเขป: This research and development on nutraceutical was carried out in order to evaluate the effect of the ethanolic extract from long-kong peels and guava leaves for their pharmacological potential on castor-oil inducted diarhea and gastrointestinal (GI) motility models in laboratory rat. The pharmacological activities included anti-diarrheal activity, anti-bacterial activity, chemical compound, efficacy and safety of drug and herbal extract formation. The yields of Lansidium domesticum Corr. peels and Psidium guajava Linn leaves, which were extracted in 95% and 50% ethanol, were 16.9% and 45% respectively. Result of peels extract at doses of 250, 500 and 1,000 mg/kg bw. and leaves extract at dose 500 and 1,000 mg/kg bw. showed a significantly inhibited diarrhea from castor oil-induced diarrhea in rats whereas the gastrointestinal (GI) motility was reduced at doses of 250 and 500 mg/kg bw. extract and leaves extract at dose 1,000 mg/kg bw. The inhibition zones against S.aureus ATCC 6538, P.aeruginosa ATCC 9027, S. typhimurium ATCC 13311, V.parahaemolyticus DMST 21243 and Sh. flexneri DMST 4423 were 10.41-14.79 mm., while no inhibitory effect against bacteria was found in peel extract. Subsequently, we developed the prototype of anti-diarrhea nutraceutical "L.domesticum Corr. peels and Psidium guajava Linn leaves crude extracts preparation" as capsule. This product was evaluated for anti-diarrhea activity and anti-bacterial activity. The results showed that the product at dose of 900 mg/kg bw. inhibited diarrheal activity on castor oil-induced diarrhea and at doses 450 and 900 mg/kg bw. reduced the activated charcoal on gastrointestinal (GI) motility. The diameter of the inhibition zone varied in the range of 12.66 - 29.06 mm for the bacteria of S.aureus ATCC 6538, E.faecalis ATCC 14506, E.coli ATCC 8739, S.typhimurium ATCC 13311, Cl.perfringens ATCC 13124, V.parahaemolyticus DMST 21243 and Sh.flexneri DMST 4423. Both extracts and product showed high levels of safety. Moreover, product subchronic toxicity study at dose of 2,000 mg/kg bw. demonstrated mild hepatic pathological changes but it would be endogenous recovery within 30 days. Ellagic acid was a major substance that used as quality control of product. In conclusion, the product (Lansidium), which contains L.domesticum Corr. peel and P.guajava Linn leaves extracted, has more potential to use as anti diarrhea. สาระสังเขป: การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เภสัชโภชนภัณฑ์จากเปลือกลองกองเพื่อบรรเทาอาการปวดมวนท้องรักษาโรคท้องเสีย (ANTI-DIARRHOEAL) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพ, ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ และองค์ประกอบทางเคมี ตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่ได้มาจากสารสกัด โดยทำการสกัดเปลือกลองกอง ใน 95% เอทานอล และในใบฝรั่งที่ 50% เอทานอล ซึ่งให้ผลผลิตของสารสกัดคิดเป็นร้อยละ 16.9 และ 45 ตามลำดับ เมื่อนำสารสกัดทั้งสองชนิดไปทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่มีผลต่อการรักษาอาการท้องเสียของหนูขาว (castor oil-induced diarrhea in rat) พบว่า สารสกัดเปลือกลองกอง ขนาด 250, 500 และ 1,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม น้ำหนักตัว สารสกัดใบฝรั่ง ขนาด 500 และ 1,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม น้ำหนักตัวสามารถรักษาอาการท้องเสียได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และจากการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดต่อการเคลื่อนที่ของลำไส้เล็กในหนูขาว (Gastrointestinal Motility in rat) สารสกัดเปลือกลองกอง ขนาด 250 และ 500 มิลลิกรัม/กิโลกรัม น้ำหนักตัว และสารสกัดเปลือกใบฝรั่ง ขนาด 1,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม น้ำหนักตัว สามารถลดการเคลื่อนที่ของ activated charcoal เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากการทดสอบการต้านเชื้อจุลชีพก่อโรคทางเดินอาหาร พบว่า สารสกัดใบฝรั่งสามารถต้านจุลชีพก่อโรคได้ 5 ชนิด ดังนี้ ได้แก่ S aureus ATCC 6538, P.aeruginosa ATCC 9027, S.typhimurium ATCC 13311, V.parahaemolyticus DMST 21243 และ S. flexneri DMST 4423 โดยมีค่า inhibition zone อยู่ในช่วง 10.41-14.79 มม. ในขณะที่สารสกัดเปลือกลองกองไม่มีฤทธิ์การต้านเชื้อจุลชีพและเมื่อนำผลิตภัณฑ์ที่มีสารสกัดทั้งสองชนิดในอัตราส่วน
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Not For Loan 2022-06-13 IP00010

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300