อนุสิทธิบัตรเรื่อง : กระบวนการสกัดโปรตีนไอโซเลต (protein isolate) จากถั่วหัวช้าง (Cicer arietinum Linn) สิทธิบัตรเลขที่ 1701005504 / Maneerat Meeploy [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Maneerat Meeploy
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 55-04, Sub Proj. no. 3; Rep. no. 1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2016 รายละเอียดตัวเล่ม: 194 p. tables, ill. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง : การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโปรตีนจากถั่วพื้นเมือง | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี : ได้ ผลิตภัณฑ์โปรตีนโอไซเลสสกัดเต้าฮวยเสริมโปรตีนสกัดจากถั่วหัวช้างเครื่องดื่มผสมเมล็ดโปรตีนโปรตีนสกัดจากถั่วหัวช้างชนิดผงชงดื่ม การนำไปต่อยอด : ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโปรตีน: 1. โปรตีนไอโซเลทสกัดจาก ถั่วหัวช้าง (food ingredient) ,2. เต้าฮวยเสริมโปรตีนสกัดจากถั่วหัวช้าง, 3. เครื่องดื่มผสมเม็ดโปรตีนสกัดจากถั่วหัวช้างชนิดพร้อมดื่ม, 4. โปรตีนสกัดจากถั่วหัวช้างชนิดผงชงดื่ม/กลุ่มผู้รักสุขภาพ นักกีฬา กลุ่มเด็กวัยเรียน และ กลุ่มผู้สูงอายุ จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์ : - โปรตีนไอโซเลตจากถั่วหัวช้างเพื่อนำไปใช้เป็น food ingredient - สูตรและเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโปรตีนจากถั่วหัวช้างหัวเรื่อง: สุภาภรณ์ เลขวัต | ศิริวรรณ ตั้งแสงประทีป | เนาวพันธ์ หนูจุ้ย | Ubolwanna Srimongkoluk | Nalinas Jitpromสาระสังเขป: จุดประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ การพัฒนากรรมวิธีการสกัดโปรตีนไอโซเลตจากถั่วหัวช้าง สายพันธุ์ที่ทําการทดลองปลูก ณ สถานีวิจัยพืชลําตะคอง จังหวัดนครราชสีมา และได้คัดเลือกแล้วว่า ให้ผลผลิตสูง สามารถปรับตัวได้ดีกับสภาพแวดล้อมของประเทศไทย. เพ ื่ อนําโปรตีนไอโซเลตที่ สกัด ได้มาพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโปรตีนไขมันต ่ําประเภทต่างๆ พร้อมทั้ง พัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์สําหรับผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโปรตีนที่มีความสอดคล้องกับความต้องการ ของตลาด. รวมท ั้ งการศึกษาถึงคุณสมบัติเชิงหน้าท ี่, องค์ประกอบทางเคมี, และฤทธ ิ์ ทางชีวภาพของ โปรตีนไอโซเลต และโปรตีนไฮโดรไลเสต จากถ ั่ วหัวช้างสายพันธุ์ต่างๆ. ในการเตรียมโปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างในระดับห้องปฏิบัติการ ปัจจัยหลักที่ทําการศึกษา ได้แก่ สภาวะความเป็นกรด-เบส (pH), อุณหภูมิ, และ อัตราส่วนของแข็งต่อของเหลว. จากการ ทดลอง พบว่า สภาวะท ี่ เหมาะสมที่สุดในการสกัดโปรตีนไอโซเลต คือ ผสม flour จากถ ั่ วหัวช้าง กับน ้ํ ากลั่น ในอัตราส่วน 1 : 6 สกัดโปรตีนในสภาวะที่ pH 7.5 ที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส เป็น เวลา 1 ชั่วโมง, จากน ั้นตกตะกอนโปรตีนที่จุดไอโซอิเล็กทริกท ี่ pH 4.5 ละลายตะกอนโปรตีน และ ปรับ pH 7.0 ทําแห้งโปรตีนด้วยวิธีการทําแห้งแบบเยือกแข็ง ได้โปรตีนไอโซเลต (ปริมาณโปรตีน 90%) สําหรับใช้พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์อาหารต่อไป. จากผลการศึกษาคุณสมบัติเชิงหน้าท ี่ของโปรตีน ไอโซเลตจากถั่ วหัวช้าง 3 สายพันธุ์ได้แก่สายพันธุ์ ICCV95333, สายพันธุ์ ICCV93952 และสายพันธุ์ จากแม่ฮองสอน เปรียบเทียบกับโปรตีนไอโซเลตที่ สกัดได้จากถ ั่ วเหลือง พบว่า โปรตีนไอโซเลตจาก ถั่วหัวช้างทุกสายพันธุ์มีค่าความสามารถในการอุ้มน้ํา และดัชนีความคงตัวของอิมัลชันน้อยกว่าโปรตีน ไอโซเลตจากถั่ วเหลือง. โปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างสายพันธุ์จากแม่ฮ่องสอน และสายพันธุ์ ICCV95333 มีค่าความสามารถในการดูดซับน ้ํ ามัน และดัชนีการเกิดอิมัลชันมากกว่าโปรตีนไอโซเลต จากถ ั่ วเหลือง ตามลําดับ. โปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างทั้ง 3 สายพันธุ์มีค่าความสามารถในการเกิด ฟอง และความคงตัวของการเกิดฟอง อยู่ในช่วง 66-81% และ 69-80% ตามลําดับ. ในขณะที่โปรตีน ไอโซเลตจากถั่ วเหลืองมีค่าเท่ากับ 75% และ 73% ตามลําดับ. นอกจากน ี้ ความเข้มข้นที่น้อยที่สุดจุดประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ การพัฒนากรรมวิธีการสกัดโปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้าง สายพันธุ์ที่ทําการทดลองปลูก ณ สถานีวิจัยพืชลําตะคอง จังหวัดนครราชสีมา และได้คัดเลือกแล้วว่า ให้ผลผลิตสูง สามารถปรับตัวได้ดีกับสภาพแวดล้อมของประเทศไทย. เพ ื่ อนําโปรตีนไอโซเลตที่ สกัด ได้มาพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโปรตีนไขมันต ่ําประเภทต่างๆ พร้อมทั้ง พัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์สําหรับผลิตภัณฑ์อาหารเสริมโปรตีนที่มีความสอดคล้องกับความต้องการ ของตลาด. รวมท ั้ งการศึกษาถึงคุณสมบัติเชิงหน้าท ี่, องค์ประกอบทางเคมี, และฤทธ ิ์ ทางชีวภาพของ โปรตีนไอโซเลต และโปรตีนไฮโดรไลเสต จากถ ั่ วหัวช้างสายพันธุ์ต่างๆ. ในการเตรียมโปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างในระดับห้องปฏิบัติการ ปัจจัยหลักที่ทําการศึกษา ได้แก่ สภาวะความเป็นกรด-เบส (pH), อุณหภูมิ, และ อัตราส่วนของแข็งต่อของเหลว. สาระสังเขป: จากการ ทดลอง พบว่า สภาวะท ี่ เหมาะสมที่สุดในการสกัดโปรตีนไอโซเลต คือ ผสม flour จากถ ั่ วหัวช้าง กับน ้ํ ากลั่น ในอัตราส่วน 1 : 6 สกัดโปรตีนในสภาวะที่ pH 7.5 ที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส เป็น เวลา 1 ชั่วโมง, จากน ั้นตกตะกอนโปรตีนที่จุดไอโซอิเล็กทริกท ี่ pH 4.5 ละลายตะกอนโปรตีน และ ปรับ pH 7.0 ทําแห้งโปรตีนด้วยวิธีการทําแห้งแบบเยือกแข็ง ได้โปรตีนไอโซเลต (ปริมาณโปรตีน 90%) สําหรับใช้พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์อาหารต่อไป. จากผลการศึกษาคุณสมบัติเชิงหน้าท ี่ของโปรตีน ไอโซเลตจากถั่ วหัวช้าง 3 สายพันธุ์ได้แก่สายพันธุ์ ICCV95333, สายพันธุ์ ICCV93952 และสายพันธุ์ จากแม่ฮองสอน เปรียบเทียบกับโปรตีนไอโซเลตที่ สกัดได้จากถ ั่ วเหลือง พบว่า โปรตีนไอโซเลตจาก ถั่วหัวช้างทุกสายพันธุ์มีค่าความสามารถในการอุ้มน้ํา และดัชนีความคงตัวของอิมัลชันน้อยกว่าโปรตีน ไอโซเลตจากถั่ วเหลือง. โปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างสายพันธุ์จากแม่ฮ่องสอน และสายพันธุ์ ICCV95333 มีค่าความสามารถในการดูดซับน ้ํ ามัน และดัชนีการเกิดอิมัลชันมากกว่าโปรตีนไอโซเลต จากถ ั่ วเหลือง ตามลําดับ. โปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างทั้ง 3 สายพันธุ์มีค่าความสามารถในการเกิด ฟอง และความคงตัวของการเกิดฟอง อยู่ในช่วง 66-81% และ 69-80% ตามลําดับ. ในขณะที่โปรตีน ไอโซเลตจากถั่ วเหลืองมีค่าเท่ากับ 75% และ 73% ตามลําดับ. นอกจากน ี้ ความเข้มข้นที่น้อยที่สุดสามารถเกิดเจลได้ของโปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างทั้ง 3 สายพันธุ์ อยู่ในช่วง 16-20% ในขณะที่ โปรตีนไอโซเลตจากถั่ วเหลืองมีค่าเท่ากับ 12%. ในการเตรียมโปรตีนไฮโดรไลเสต เตรียมได้จากการ ย่อยโปรตีนไอโซเลตด้วยเอนไซม์ย่อยโปรตีน. การวิจัยน ี้ใช้เอนไซม์ย่อยโปรตีน ได้แก่ แอลคาเลส, ฟลาโวไซม์, ปาเปน, และเพปซิน. ผลของการย่อยโปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างด้วยเอนไซม์ย่อย โปรตีนชนิดต่างๆ ทําให้ได้โปรตีนไฮโดรไลเสตที่มีฤทธ ิ์ ทางชีวภาพท ี่ แตกต่างกัน. จากการทดสอบฤทธ ิ์ ต้านอนุมูลอิสระของโปรตีนไฮโดรไลเสตด้วยวิธี DPPH / ABTS radical scavenging assay และต้าน ออกซิเดชันด้วยวิธี ferric reducing antioxidant power (FRAP) assay พบว่า โปรตีนไฮโดรไลเสต ที่ได้จากการย่อยโปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างสายพันธุ์ ICCV93952 ด้วยแอลคาเลส, ด้วยปาเปน และโปรตีนไฮโดรไลเสตที่ได้จากการย่อยโปรตีนไอโซเลตจากถั่ วเหลืองด้วยแอลคาเลส ให้ผลการ ทดลองดีที่สุดมีค่าเท่ากับ 4.57±1.25 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร, 721.15±19.23 มิลลิโมล trolox ต่อ น้ําหนักแห้งของโปรตีนไฮโดรไลเสต 1 กรัม และ 21.42±0.55 ไมโครโมล trolox ต่อน ้ํ าหนักแห้งของ โปรตีนไฮโดรไลเสต 1 กรัม ตามลําดับ. รูปแบบโปรตีนของโปรตีนไอโซเลตจากการวิเคราะห์ด้วย เทคนิค SDS-PAGE ในสภาวะ non-reducing condition พบว่า โปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างทุก สายพันธุ์ปรากฏแถบโปรตีนหลัก (major band) ที่เหมือนกันมาก ซึ่งตรงกับ legumin (11S) และ vicilin (7S) ในขณะที่โปรตีนไอโซเลตจากถั่ วเหลืองปรากฏแถบโปรตีนหลักซ ึ่ งตรงกับ β-conglycinin (7S) และ glycinin (11S). รูปแบบเพปไทด์ของโปรตีนไฮโดรไลเสตจากการวิเคราะห์ด้วย tricineSDS-PAGE แสดงให้เห็นว่า เอนไซม์ย่อยโปรตีนไอโดรไลซ์สายพอลิเพปไทด์ในตําแหน่งที่จําเพาะต่อ กรดแอมิโน ทําให้ได้เพปไทด์ที่มีความยาวและลําดับกรดแอมิโนที่มีความแตกต่างกัน ซึ่งมีอิทธิพลต่อ ฤทธ ิ์ ทางชีวภาพของเพปไทด์ที่ได้. นอกจากน ี้ พบว่า โปรตีนไฮโดรไลเสตที่ได้จากการย่อยโปรตีนไอโซ เลตจากถ ั่ วหัวช้างสายพันธุ์ ICCV95333 ด้วยแอลคาเลส มีฤทธิ์ยับย ั้ งการทํางานของแองจิโอเทนซิน คอนเวอร์ติงเอนไซม์ ได้ดีที่สุด (IC50=19.03 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร). สาระสังเขป: เม ื่ อนําโปรตีนไฮโดรไลเสตที่มี ฤทธิ์ยับย ั้ งการทํางานของแองจิโอเทนซิน คอนเวอร์ทิงเอนไซม์ ดีที่สุด มาทําการแยกเพปไทด์ด้วยวิธี ทางโครมาโทกราฟีแบบแยกตามขนาด โดยใช้คอลัมน์ Bio-Gel® P-10 สามารถแยกส่วนสารละลาย เพปไทด์ได้ 6 ส่วน ซึ่งสารละลายในส่วนท ี่ 4 พบว่า ประกอบไปด้วยเพปไทด์ที่มีขนาดโมเลกุล น้อยกว่า 4 กิโลดาลตัน ที่มีฤทธิ์ยับย ั้ งการทํางานของแองจิโอเทนซิน คอนเวอร์ทิงเอนไซม์ได้ 96%. จากการทดลองพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์เคร ื่ องด ื่ มผสมเม็ดเจลโปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้าง 3 รสชาติได้แก่ น้ําเก๊กฮวย, ชาเขียว และน ้ําผลไม้รสแอปเปิล พบว่า อัตราส่วนผสมท ี่ เหมาะสมที่สุด สําหรับเตรียมเม็ดเจลโปรตีน ประกอบด้วย โปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้าง 1 กรัม, โซเดียมแอลจิเนต ความเข้มข้น 2% ปริมาณ 2 กรัม และอะราบิกกัม 1 กรัม ที่ความเข้มข้น 4% โดยน้ํ าหนัก หยดลงใน สารละลายแคลเซียมคลอไรด์ความเข้มข้น 0.1 โมลาร์. โดยมีส่วนผสมของเม็ดเจลโปรตีนในเครื่ องดื่ม ทั้ง 3 รสชาติอยู่ 1% โดยน้ํ าหนักต่อปริมาตร. การใช้แซนแทนกัม ความเข้มข้น 1% ในน้ํ าเก๊กฮวย และชาเขียว และ 0.12% ในน้ําผลไม้รสแอปเปิล ช่วยทําให้เม็ดเจลโปรตีนสามารถลอยตัวอยู่ใน เคร ื่ องด ื่มได้ระดับหนึ่ง. นอกจากน ี้ พบว่า ลักษณะทางกายภาพของเม็ดเจลโปรตีนอยู่ในเกณฑ์ที่ ยอมรับได้ไม่แตก หรือเสียสภาพเน ื่ องจากความร้อน หลังจากทดลองให้ความร้อนที่อุณหภูมิต่างๆ ได้แก่ 37, 80, 90, และ 100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที. ผลิตภัณฑ์เคร ื่ องด ื่ มผสมเม็ดเจล โปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้าง ทั้ง 3 รสชาติมีค่าโปรตีนอยู่ในช่วง 4.7-8.8%, ค่าการต้านทานอนุมูลอิสระ DPPH (EC50) อยู่ในช่วง 0.36-3.27 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร และปริมาณสารประกอบฟีนอลท ั้ งหมด อยู่ ในช่วง 20.7-48.3 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร. จากการทดลองพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์เคร ื่ องด ื่มโปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้างชนิดผงชงดื่ม พบว่า อัตราส่วนผสมท ี่ เหมาะสมที่สุด ของเคร ื่ องด ื่มโปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้างชนิดผงชงดื่ม น้ําหนัก 100 กรัม ประกอบด้วย น้ําผึ้ง 5 กรัม, มอลโทเด็กซ์ทริน 15 กรัม, โปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้าง 80 กรัม และแซนแทนกัม 0.05 กรัม. ซึ่งได้รับการยอมรับมากที่สุดในทุกด้านที่ทําการทดสอบ. เม ื่ อนํา เคร ื่ องด ื่มโปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้างชนิดผงชงดื่ม ในอัตราส่วนผสมดังกล่าวน ี้ มาศึกษาต่อเพ ื่ อหา ปริมาณน ้ํ าตาลทรายขาวท ี่ เหมาะสม พบว่า น้ําตาลทรายขาว 0.5% โดยน้ํ าหนัก ได้รับการยอมรับจาก ผู้ทดสอบมากที่สุดในทุกด้าน. นอกจากน ี้ผลการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสของเคร ื่ องดื่ม โปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้างชนิดผงชงด ื่ มที่พัฒนาข ึ้ นน ี้เปรียบเทียบกับ เคร ื่ องด ื่ มถ ั่ วเหลืองชนิดผงชงดื่ม ที่ผลิตข ึ้ นเพ ื่ อการค้า พบว่า เคร ื่ องด ื่มโปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้างชนิดผงชงดื่ม สูตรท ี่ไม่ใส่นมผง และ สูตรท ี่ใส่นมผง มีความแตกต่างจากเคร ื่ องด ื่ มถ ั่ วเหลืองชนิดผงชงด ื่มในด้านกลิ่น, ความหวาน, รสชาติ และความชอบรวม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติโดยผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาข ึ้นได้คะแนนการยอมรับมากกว่า ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตข ึ้ นเพ ื่ อการค้า. และพบว่า ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติในทุกด้านระหว่างเคร ื่ องดื่ม โปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้างชนิดผงชงดื่ม สูตรท ี่ไม่ใส่นมผง และสูตรท ี่ใส่นมผง. สาระสังเขป: จากการทดลองพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์เต้าฮวยเสริมโปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้าง โดยในขั้ นต้นของ การทดลอง ใช้โปรตีนไอโซเลตจากถั่ วเหลืองท ี่ใช้ในทางการค้าแทนโปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้าง ที่ระดับความเข้มข้น 0, 0.5, 1.0, 2.0, และ 3% โดยน้ํ าหนักต่อปริมาตร พบว่า ส่วนประกอบของน้ํา ถั่วเหลือง 85.45%, น้ําเช ื่อมฟรักโทส 13.00%, ผงวุ้น 0.60%, เจลาติน 0.45%, และกล ิ่ นวานิลลา 0.50% โดยน้ํ าหนักต่อปริมาตร เป็นสูตรที่ดีที่สุดในการเตรียมเต้าฮวย. นอกจากน ี้ พบว่า การเติม โปรตีนไอโซเลตจากถั่ วเหลืองในเต้าฮวยท ี่ 0.5% ได้รับการยอมรับมากที่สุด (94.92%) ในด้าน ลักษณะปรากฏ, เน ื้ อสัมผัส, และรสชาติ. จากน ั้ นเม ื่ อเสริมโปรตีนในผลิตภัณฑ์เต้าฮวย ด้วยโปรตีน ไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างแทนโปรตีนไอโซเลตจากถั่ วเหลืองในรูปแบบผง 0.5% และเม็ดเจลโปรตีน 10% โดยน้ํ าหนักต่อปริมาตร (เม็ดเจลโปรตีน มีโปรตีนไอโซเลตจากถั่ วหัวช้างอยู่ 0.5% โดยน้ํ าหนัก ต่อปริมาตร) ผลการวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพ พบว่า ผลิตภัณฑ์เต้าฮวยเสริมโปรตีน สกัดจากถ ั่ วหัวช้าง มีค่าความชื้น 81.60±0.296% และ โปรตีน 16.132±0.042% มีค่าสี L*=71.84 a*=-1.38 และ b*=9.71. สําหรับคุณค่าทางโภชนาการต่อหน ึ่ งหน่วยบริโภค (น้ําหนักสุทธิ 125 กรัม) ของผลิตภัณฑ์มีพลังงานท ั้ งหมด 90 กิโลแคลอรี, โปรตีน 4 กรัม (เปรียบเทียบกับเต้าฮวยท ี่ไม่เสริม โปรตีน พบว่า มีโปรตีน 2.25 กรัม), ใยอาหาร <1 กรัม, โซเดียม 15 มิลลิกรัม และไม่มี โคเลสเตอรอล. จากการพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพ ื่ อการวางจําหน่ายผลิตภัณฑ์เพ ื่ อสุขภาพผสมโปรตีนสกัดจาก ถั่วหัวช้าง ได้ต้นแบบบรรจุภัณฑ์ขายปลีกที่มีโครงสร้างมาตรฐานสําหรับผลิตภัณฑ์เคร ื่ องด ื่ มผสม โปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้าง และผลิตภัณฑ์เต้าฮวยเสริมโปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้าง ได้แก่ ขวดแก้ว และ ถ้วยพลาสติก ตามลําดับ. จึงสามารถหาซ ื้อได้ทั่วไปในท้องตลาด สะดวกต่อการผลิตจํานวนน้อย 6 สําหรับงานทดลองตลาด. ส่วนโครงสร้างบรรจุภัณฑ์สําหรับผลิตภัณฑ์โปรตีนสกัดจากถ ั่ วหัวช้างชนิด ผงชงดื่ม เป็นซองต ั้งได้ที่ขึ้นรูปเป็นถ้วยสําหรับชง ได้รับการพัฒนาข ึ้นใหม่เพ ื่อให้ความสะดวกในการ ใช้งาน และเป็นมิตรกับส ิ่ งแวดล้อม. กราฟิกเรียบง่าย, ดูสะอาดตา, มีความเป็นเอกลักษณ์เดียวกัน ทั้งสามผลิตภัณฑ์. มีจุดร่วมที่ถั่วหัวช้างอย่างชัดเจน, สื่อถึงธรรมชาติ, สะอาด, ถูกสุขอนามัยและน่ารับประทาน
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Available 2022-08-31 IP00076

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300