โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากยางพารา : ส่วนที่ 1 : การทดลองใช้แผ่นวัสดุรองบ่อตกเกลือ = development of natural rubber products part 1 : butilization of material linings for sea salt crystallizing ponds / Kesara Nutalalya ... [et al.]

ผู้แต่งร่วม: Arunyanak, Silpachai | Earthayapan, Manus | Mata, Permsuk | Nutalaya, Kesara | Praditsilp, Somchai | Prasertphong, Booncherd | Sitthitrai, Prawalwan | Sthapitanonda, Kannika | Thakunmahachai, Boonchai | บุญชัย ตระกูลมหชัย | เกศรา นุตาลัย | บุญเชิด ประเสริฐพงศ์ | สมชาย ประดิษฐ์ศิลป์ | เพิ่มสุข มาทะ | กรรณิการ์ สถาปิตานนท์ | ประวาลวรรณ สิทธิไตรย์ | ศิลปชัย อรัญยะนาค | มนัส อาฒยะพันธ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Chemical Industry Department Chemical Formulation and Processing Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 30-04 ; Rep. no. 3ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1991. รายละเอียดตัวเล่ม: 32 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Utilization of material linings for sea salt crystallizing ponds | โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากยางพารา : ส่วนที่ 1 : การทดลองใช้แผ่นวัสดุรองบ่อตกเกลือ | การทดลองใช้แผ่นวัสดุรองบ่อตกเกลือหัวเรื่อง: Crystallizing ponds | Linings | Reclaimed rubber sheets | Rubber | Rubber sheets | Samut Sakhon | Sodium chlorideสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: From the results, it is noted that the amounts of salts crystallized in the ponds using different linings are comparable. The changes in properties after use of both rubber and plastics are not much different, except for PE which elongation at break is quite high in spite of its 50 percent decrease in tensile strength. Plastics are considered to be more advantage to be used as lining due to their low costs, especially PVC which properties are fairly good and not much decreased after use. Natural rubber cost is fairly higher than plastics with the same efficient use. However, if natural rubber is to be used for lining salt ponds in the future, more study should be carried on to improve the rubber production for cost reduction and working resistance upgrading. Authorsสาระสังเขป: Mixed natural and reclaimed rubber sheets were produced and used to line the sea salt crystallizing ponds by Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR). The objective of the experiment is to develop products from natural rubber and also improve sea slat processing. It is expected that utilizing materials lining would lessen the time for land preparation and hence the total salt production time, also the salts obtained should be cleaner since they are not crystallized directly on the soil. TISTR carried the experiments both at TISTR and a salt farm in Samut Sakhon Province by using different material linings for comparison i.e. rubber, polyethylene (PE), polyvinyl chloride (PVC), ceramic tiles and concrete. The parameters measured and controlled are concentration of salt brine, thickness of brine in the pond, crystallizing time, atmospheric temperature and humidity. Determination of the amounts of salts crystallized were made, and materials properties determined were tensile strength, elongation at break, adhesion strength, aging by accelerated method; and for plastics were tensile strength, elongation at break, impact strength (only PE) and soil resistance (only PVC).สาระสังเขป: จากการทดลองพบว่าปริมาณเกลือที่ได้จากบ่อตกเกลือรองด้วยวัสดุทั้งห้าชนิดมีค่าใกล้เคียงกัน. การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของยางและพลาสติกภายหลังการใช้งานไม่แตกต่างกัน, ยกเว้นแผ่น PE ซึ่งมีค่าความยืดที่จุดขาดค่อนข้างสูงและไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก, แต่ความต้านแรงดึงนั้นลดลงมากถึงเกือบร้อยละ 50. อย่างไรก็ดี แผ่นพลาสติกมีข้อได้เปรียบในเรื่องราคาซึ่งถูกกว่าวัดสุอื่นๆ มาก, โดยเฉพาะแผ่น PVC นั้นมีคุณสมบัติที่ดีพอใช้และคุณสมบัติภายหลังการใช้ลดลงไม่มาก. ส่วนยางธรรมชาตินั้นมีราคาปานกลางและประสิทธิภาพการใช้งานไม่แตกต่างกับพลาสติก. หากจะใช้แผ่นยางปูรองบ่อนาเกลือต่อไป ควรมีการศึกษาปรับปรุงกระบวนการผลิต เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มคุณภาพความทนทานต่อการใช้งานให้ดีขึ้นกว่าพลาสติก. -ผู้แต่ง.สาระสังเขป: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ได้ทดลองใช้แผ่นยางที่มียางธรรมชาติผสมกับยางรีเคลมปูรองบ่อตกเกลือ ทั้งนี้เพื่อช่วยพัฒนาผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ และพัฒนากระบวนการผลิตเกลือสมุทรด้วย. วิธีดังกล่าวจะช่วยลดเวลาในการเตรียมผิวดิน ดังนั้นจึงลดเวลาการผลิตเกลือให้น้อยลงด้วย. นอกจากนี้ยังทำให้เกลือที่ได้มีความสะอาดมากกว่าเดิมด้วย เนื่องจากไม่สัมผัสกับผิวดิน. วท. ได้ทดลองตกเกลือที่บริเวณ วท. และบริเวณนาเกลือ จ.สมุทรสาคร โดยใช้แผ่นยาง, แผ่นพลาสติกโพลีเอทิลีน (PE), แผ่นพลาสติกโพลีไวนิลคลอไรด์ (PVC), แผ่นกระเบื้องเคลือบ และแผ่นคอนกรีตโดยควบคุมและวัดค่าตัวแปรต่างๆ คือ ความเข้มข้นของน้ำเกลือ, ความหนาของน้ำเกลือในบ่อ, เวลาการตกเกลือ, อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ของบรรยากาศ. หลังจากการทดลองได้วัดหาปริมาณเกลือที่ตก, คุณสมบัติต่างๆ ของแผ่นวัสดุก่อนและหลังการใช้งาน (เฉพาะแผ่นยางและพลาสติก). สำหรับแผ่นยาง คุณสมบัติที่วิเคราะห์ ได้แก่ ความต้านแรงดึง, ความยืดที่จุดขาด, ความต้านแรงเชื่อมที่รอยต่อและการเสื่อมสภาพของยางโดยวิธีเร่งสภาวะ. สำหรับแผ่นพลาสติก ได้แก่ ความต้านแรงดึง, ความยืดที่จุดขาด, ความต้านแรงกระแทก (เฉพาะแผ่น PE), และความทนทานต่อการฝังดิน (เฉพาะแผ่น PVC).
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300