โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากยางพารา: โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากยางพารา ส่วนที่ 1: การทดลองผลิตและติดตั้งแผ่นยางธรรมชาติรองสระน้ำ = development on production of rubber : development of natural rubber products part I : production and installation of natural rubber lining for water reservoirs / Kesara Nutalaya...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Arunyanak, Silpachai | Cheosakul, Ubolsri | Earthayapan, Manus | Inwang, Sanchai | Mata, Permsuk | Meecheun, Vachara | Meeprasert, Nantana | Nutalaya, Kesara | Prasertphong, Booncherd | Sriwanawit, Jit | Sthapitanonda, Kannika | Thakunmahachai, Boonchai | Vongpanish, Pratum | อุบลศรี เชี่ยวสกุล | บุญชัย ตระกูลมหชัย | เกศรา นุตาลัย | บุญเชิด ประเสริฐพงศ์ | เพิ่มสุข มาทะ | วัชรา มีชื่น | นันทนา มีประเสริฐ | ประทุม วงษ์พานิช | จิตต์ ศรีวรรณวิทย์ | กรรณิการ์ สถาปิตานนท์ | ศิลปชัย อรัญยะนาค | มนัส อาฒยะพันธ์ | สรรค์ชัย อินหว่าง | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Chemical Industry Department, Chemical Formulation and Processing Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 30-04 ; Rep. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1989 รายละเอียดตัวเล่ม: 102 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Production and installation of natural rubber lining for water reservoirs | โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากยางพารา: โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากยางพารา ส่วนที่ 1: การทดลองผลิตและติดตั้งแผ่นยางธรรมชาติรองสระน้ำ | การทดลองผลิตและติดตั้งแผ่นยางธรรมชาติรองสระน้ำหัวเรื่อง: Reservoirs | Rubber | Rubber lining | Rubber sheets | Water reservoirs | Watertight liningสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) coperated with private factories in developing mixed natural and reclaimed rubber sheet used as watertight lining for water reservoir to prevent seepage or contamination of saline water from underground. Physical properties of the sheet including tensile strength, elongation at break, tear strength, accelerating heat and water resistances, weathering resistance, ozone resistance, water absorption, specific gravity, adhesion strength and shear strength were tested and found to be comparable with the ones of synthetic rubber sheets except ozone and weathering resistances.สาระสังเขป: TISTR also co-operated with the Community Development Department (CDD) in surveying, site selection and preparation for the installation of the rubber sheet lining for reservoirs using CDD pond designs. For large ponds, TISTR used the whole factory-seamed sheets and installed at the site by 200-300 local people and official workers unfolding and aligning the sheets together. During 1987-88, TISTR has produced and installed seven natural rubber liners with sizer ranging from 10 to 10,000 cubic metres. At present all of the ponds are in good condition and TISTR is still following up the change of the rubber properties.สาระสังเขป: Various problems and recommendations are presented in this report including the ones about laboratory experiment and quality testing, factory processing, pond site preparation and installation of the rubber liners. Authorsสาระสังเขป: ในการทดลองใช้แผ่นยางปูรองสระน้ำนั้น วท. ได้ร่วมมือกับกรมการพัฒนาชุมชน (พช.) สำรวจ, คัดเลือกสถานที่ และเตรียมพื้นที่โดยใช้แบบสระน้ำของ พช. สำหรับสระน้ำขนาดใหญ่นั้น วท. ใช้แผ่นยางซึ่งเชื่อมต่อสำเร็จแล้วจากโรงงาน และใช้กำลังชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ จำนวน 200-300 คน ช่วยกันดึงแผ่นยางรองสระน้ำ. ในปี 2530-2531 วท. ได้ทดลองผลิตแผ่นยางเพื่อใช้ปูสระน้ำ รวม 7 สระด้วยกัน มีขนาดตั้งแต่ 10-10,000 ลบ.ม. ขณะนี้ทุกสระน้ำยังใช้งานได้ดี และ วท. กำลังอยู่ในระหว่างการติดตามทดสอบความเปลี่ยนแปลงของแผ่นยาง.สาระสังเขป: นอกจากนี้ รายงานได้สรุปปัญหาและข้อแนะนำต่างๆ ในด้านการทดลองผลิต และทดสอบคุณภาพแผ่นยางธรรมชาติ, ด้านกระบวนการผลิตแผ่นยางในโรงงาน และด้านการเตรียมพื้นที่ทดลองติดตั้งแผ่นยางปูรองสระน้ำ. - ผู้แต่ง.สาระสังเขป: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ร่วมมือกับโรงงานภาคเอกชนทดลองพัฒนาแผ่นยางธรรมชาติผสมกับยางรีเคลม เพื่อปูรองสระน้ำซึ่งไม่สามารถกักเก็บน้ำไว้ได้ หรือใช้ป้องกันการปนเปื้อนของน้ำกร่อยจากใต้ดิน. วท. ได้ทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของแผ่นยางในด้านต่างๆ เปรียบเทียบกับคุณสมบัติของแผ่นยางสังเคราะห์ได้แก่ ความต้านแรงดึง, ความยืดที่จุดขาด, ความต้านแรงฉีกขาด, ความต้านทานต่อการเร่งสภาวะต่างๆ, ความต้านทานต่อสภาวะดินฟ้าอากาศ, ความต้านทานต่อโอโซน, การดูดซึมน้ำ, ความถ่วงจำเพาะ, ความต้านแรงเชื่อมรอยต่อ และความต้านแรงเฉือนรอยต่อ. จากการทดสอบพบว่า คุณสมบัติต่างๆ ของแผ่นยางธรรมชาตินั้น เทียบเท่าหรือดีกว่าแผ่นยางสังเคราะห์ ยกเว้นค่าความต้านทานต่อโอโซน และสภาวะดินฟ้าอากาศ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ไม่มีรายการทางกายภาพสำหรับระเบียนนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300