อนุสิทธิบัตรเรื่อง:การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สารต้านอนุมูลอิสระจากจุลินทรีย์ เพื่อลดความเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่= อนุสิทธิบัตรเลขที่:1601002992 Chatrudee Suwannachart [et al.] (CONFIDENTIAL)

โดย: Chatrudee Suwannachart
ผู้แต่งร่วม: Chatrudee Suwannachart | Kanjana Rueangyotchanthana | ฉัตรฤดี สุวรรณชาติ | Kornchanok Wayakanon | Suksan Srichuay | กรชนก วยัคฆานนท์ | สุขสรรณ ศรีช่วย | กาญจนา เรืองยศจันทนา
BCG: จุลินทรีย์ TRM: อาหาร Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 57-05, Sub Proj. no.3; no.1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani Thailand Institute of Scientific and Technological Research 2019 รายละเอียดตัวเล่ม: 87 p. tables, ill. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง:การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สารต้านอนุมูลอิสระจากจุลินทรีย์ เพื่อลดความเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่ | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:Astaxanthin, TISTR 5953, ฐานข้อมูลของจุลินทรีย์ที่ ครบถ้วน สืบค้นได้ (DNA sequences, คุณลักษณะสาร สกัดที่ผลิตได้ วิธีการที่เหมาะสมในการวิเคราะห์สารสกัด) การนำไปต่อยอด:1.โครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สารต้านอนุมูลอิสระจากจุลินทรีย์ เพื่อลดความเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่ /-ผลิตภัณฑ์ต้นแบบของแอสตาแซนทิน -Ingredient -Astaxanthin -TISTR5953 -ฐานข้อมูลของจุลินทรีย์ที่ครบถ้วน สืบค้นได้ (DNA sequences, คุณลักษณะสารสกัดที่ผลิตได้ วิธีการที่เหมาะสมในการวิเคราะห์สารสกัด) /-อุตสาหกรรม(ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร บริษัท Greater Pharma Co.Ltd. ,ส่วนประกอบในอาหารสัตว์ บริษัท Biowealth co. Ltd.) -มหาวิทยาลัย,หน่วยงานวิจัย /2560 จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์:-มีฤทธิ์เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ และ ยับยั้ง การเจริญของ Caco2 ได้ -กระบวนการสกัดสารแอสตาแซนทิน (จดสิทธิบัตร)หัวเรื่อง: โรคมะเร็งลำไส้ | สารต้านอนุมูลอิสระจากจุลินทรีย์สาระสังเขป: โรคมะเร็งลำไส้จัดได้ว่าเป็นโรคมะเร็งที่มีความรุนแรงที่พบมากในประชากรทั่วโลก อุบัติการณ์ของโรคมะเร็งลำไส้มีจำนวนเพิ่มขึ้นมากในทุกๆ ปี ซึ่งสาเหตุของโรคนั้นอาจจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงไปของการใช้ชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง แอลกอ-ฮอลล์ รับประทานเนื้อมากเกินไป รวมไปถึงการสูบบุหรี่ เป็นต้น ปัจจุบันการรักษาโรคมะเร็งลำไส้จะใช้วิธีการผ่าตัดเพื่อกำจัดเนื้อร้าย การฉายแสง การให้เคมีบำบัด ควบคู่กัน.ในการศึกษาวิจัยและพัฒนาในโครงการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์สารต้านอนุมูลอิสระจากจุลินทรีย์เพื่อลดความเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่ พบว่า จุลินทรีย์ยีสต์ Phaffia rhodozyma เป็นจุลินทรีย์ที่มีการเจริญเติบโตได้รวดเร็วและมีความสามารถในการผลิตแอสทตาแซนทินสูงโดยประมาณถึง 35 เปอร์เซ็นต์ จากการทดสอบความสามารถในการยับยั้งสารอนุมูลอิสระของสารสกัดแอสทตา-แซนทินพบว่ามีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับสารแอสทตาแซนทินทางการค้า และจากการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยง P. rhodozyma ในระดับถังหมัก พบว่า ยีสต์ชนิดนี้สามารถเจริญได้ดีและให้ปริมาณสารแอสทตาแซนทินได้สูงสุดในสูตรอาหารที่ประกอบไปด้วย สารสกัดยีสต์ 0.2 เปอร์เซ็นต์ โพแทสเซียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต 0.2 เปอร์เซ็นต์ กลูโคส 4 เปอร์เซ็นต์ และ แมกนีเซียมซัลเฟต 0.2 เปอร์เซ็นต์ ที่ค่าความเป็นกรดด่าง-เบสเท่ากับ 6 เมื่อเลี้ยงที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส อัตราการให้อากาศ 1 ลิตรต่อนาที อัตราการกวน 250 รอบต่อนาที เป็นระยะเวลา 7-10 วัน นอกจากนั้นแล้วจากการตรวจวิเคราะห์ความเป็นพิษต่อเซลล์ทั้งในเซลล์มะเร็ง human epithelial colorectal adenocarcinoma cell line (Caco-2) และเซลล์ปกติ พบว่า แอสทตาแซนทินที่ผลิตได้จากยีสต์ มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งได้ แต่อย่างไรก็ตามการศึกษาวิจัยในโครงการนี้จัดเป็นการศึกษาวิจัยเบื้องต้น ดังนั้น ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงประสิทธิภาพของสารแอสทตาแซนทินจากยีสต์ในการทดสอบกับเซลล์มะเร็งลำไส้จากผู้ป่วยในอนาคต.สาระสังเขป: Colorectal cancer or colon cancer is the third most common type of cancer killing many people around the world. As the number of population undergoing, this disease increases due to the alteration of lifestyles such as smoking, lacking exercise, consuming fat, alcohol, and red meat. Surgery is the common therapy for the early stage which cancer is in a confine area. Once they are found in the late stage, spreading to other organs, chemotherapy, radiation and palliative treatments are more curable treatments. In this research, it was found that yeast so called Phaffia rhodozyma had rapid growth and contained approximately 35% of astaxanthin from extract substance. The activity of astaxanthin showed similar activity with commercial astaxanthin. To maximize the production yield of astaxanthin, an optimization investigation on the cultivation of P. rhodozyma was performed by using fermenter cultivation. P. rhodozyma showed highest astaxanthin productivity in the media at pH 6 which contained 0.2% yeast extract, 0.2% KH2PO4, 4% glucose and 0.2% MgSO4•7H2O at 20oC, aeration rate 1 vvm, agitation rate 250 rpm, 7-10 days. The anti-cancer effect of extracted astaxanthin from P. rhodozyma was investigated by observing the vitality of human epithelial colorectal adenocarcinoma cell line (Caco-2) together with the investigation of cytotoxicity of extracted astaxanthin in normal cells by performing on human gingival fibroblasts. The results showed that astaxanthin could inhibit colon cancer cell model. However, this study was the preliminary study which needs further study of the effect of astaxanthin on human colon cancer cells.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Available 2022-08-31 IP00093

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300