สิทธิบัตรเรื่อง : การสังเคราะห์สารเร่งปฏิกิริยาเพื่อลดปริมาณน้ำมันดิน = สิทธิบัตรเลขที่ : 1101001107 Borisut Chantrawongphaisal [et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chantrawongphaisal, Borisut Watanatham, Satta Wongharn, Phichai Thapnui, Pravit Hongcharoensri, Pongsak Rattanasong, Yuttasak
Language: Thai ข้อมูลการพิมพ์: Pathum Thani 2019 Thailand Institute of Scientific and Technological Research, รายละเอียดตัวเล่ม: 31 p. tables., ill. 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง : การสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาเพื่อผลิตเชื้อเพลิงจากน้ำมันดิน | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี : น้ำมันเชื้อเพลิงจากน้ำมันดิน การนำไปต่อยอด : 1.ใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องสูบน้ำเพื่อการเกษตร 2.ใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์รอบต่ำ (วิสาหกิจชุมชน)หัวเรื่อง: พลังงาน เชื้อเพลิงสาระสังเขป: TISTR by ETD carried out a study on the synthesis catalyst to produce fuel oil from tar. The objective of this study was project to synthesize bio-oil from tar. Which tar is in biomass gasification process. The synthesis catalytic is from aluminum silicate compounds. The silicate is rice husk ash from gasification process at temperature of 700oC. The Ash was heated again at 700oC for 3 hours. It found that silica oxide composition Makes up to 92.8 % of ash and it is be used as supporter catalyst. using as supporter catalyst. By using alumina oxide from clay which is composed of 68 % of alumina oxide in order to synthesize the support group of aluminosilicate. Using of catalyst increases tar quality. The density of bio-oil is 7100 kcal/kg and 40 % yield of bio-oil from tar was tested a small with 2400 rpm pump engine with 10 horse power. The pump was tested with bio-oil from synthetic oil mixed with diesel in the ratio of 0.7: 1, 0.8: 1 and 0.9: 1 to test the speed of the engine. The engine speed dropped from 2.32 %, 15.44 % and 24.92 % with an increase proportion of bio- oil from synthesize from 10 %, 20 % and 30% respectively. วว. โดย ฝทพ. ได้ดำเนินโครงการการสังเคราะห์สารเร่งปฏิกิริยาเพื่อผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงจากน้ำมันดิน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตน้ำมันสังเคราะห์จากน้ำมันดิน ซึ่งน้ำมันดินเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตแก๊สเชื้อเพลิงจากชีวมวล การสังเคราะห์สารเร่งปฏิกิริยาจากสารประกอบกลุ่มอะลูมิโนซิลิเกต ด้วยการใช้ซิลิกาออกไซด์จากเถ้าแกลบที่เกิดจากการผลิตแก๊สสังเคราะห์ที่อุณหภูมิ 700 oซ. และผ่านการเผาซ้ำที่อุณหภูมิ 700 oซ. เป็นเวลา 3 ชั่วโมง มีซิลิกาออกไซด์เป็นองค์ประกอบร้อยละ 92.8 เพื่อใช้สังเคราะห์ตัวรองรับของสารเร่งปฏิกิริยา โดยการใช้ดินเหนียวซึ่งมีอะลูมินาเป็นองค์ประกอบร้อยละ 68 เพื่อให้ได้ตัวรองรับเป็นกลุ่มซิลิเกตและอะลูมินา พบว่าสารเร่งปฏิกิริยาสามารถเพิ่มคุณภาพน้ำมันดินได้ดีขึ้น มีค่าความร้อนสูง 7,100 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัม และผลผลิตน้ำมันชีวมวลจากน้ำมันดินร้อยละ 40 น้ำมันชีวมวลดังกล่าวถูกนำมาทดสอบการใช้งานด้วยการเดินเครื่องสูบน้ำขนาด 2, 400 รอบต่อนาที ซึ่งเป็นเครื่องยนต์รอบต่ำ ที่กำลัง 10 แรงม้า ด้วยการสูบน้ำโดยใช้น้ำมันชีวมวลที่ได้จากการสังเคราะห์ผสมกับน้ำมันดีเซลในอัตราส่วน 0.7 : 1 , 0.8 : 1 และ 0.9 : 1 เพื่อทดสอบการเปลี่ยนแปลงความเร็วรอบของเครื่องยนต์ พบว่าความเร็วรอบของเครื่องยนต์ลดลงร้อยละ 2.32, 15.44 และ 24.92 เมื่อปริมาณสัดส่วนของน้ำมันชีวมวลเพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 10, 20 และ 30 ตามลำดับ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Technical Book
Available 2022-06-13
Intellectual Property
Available 2022-06-13 IP00018

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300