อนุสิทธิบัตรเรื่อง:กระบวนการผลิตเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากขยะพลาสติกด้วยเทคโนโลยี Pyrolysis = สิทธิบัตรเลขที่:1501005650 Thanes Utistham ...[etal.]

โดย: Thanes Utistham
ผู้แต่งร่วม: Boonsae, Manoo | Laosombut, Teerawit | Prateep Na Thalang, Kasamon | Prohmsuwan, Sopon | Soontornrangson, Wirachai | Thanmongkhon, Yoothana | Utistham, Thanes | เหล่าสมบัติ, ธีรวิทย์ | ยุทธนา ฐานมงคล | มะนู บุญแสร์ | ประทีป ณ ถลาง2, กษมน | พรหมสุวรรณ, โสภณ | สุนทรรังสรรค์, วีรชัย | ธเนศ อุทิศธรรม | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 56-11, Sub proj. no. 3 ; Rep. no.1 (Final Report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2017 รายละเอียดตัวเล่ม: 73 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง:กระบวนการผลิตเชื้อเพลิงสังเคราะห์จากขยะพลาสติกด้วยเทคโนโลยี Pyrolysis | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:ผลิตเครื่องต้นแบบทำการทดลองผลิตน้ำมันน้ำมันพลาสติก ยังมีปัญหาที่ Reacter ทำให้ y น้อย นำไปผสมน้ำมันกับน้ำและทดลอง max อยู่ที่ 75%นำไปใช้เป็น Heat source เหมาะสมที่สุด | การนำไปต่อยอด:เทคโนโลยีในการพัฒนากระบวนการผลิตเซลลูโลสิกเอทานอลและปฏิกรณ์ต้นแบบที่ใช้ในขั้นตอนการปรับสภาพวัตถุดิบฯและย่อยเพื่อให้ได้น้ำตาล/กลุ่มผู้ผลิตเอทานอล | จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์:- กำจัดขยะพลาสติกได้อย่างมีประสิทธิภาพ. - องค์ความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้พัฒนาต่อยอดเพื่อสร้างผลผลิตทางเคมีและเชื้อเพลิงทดแทนจากขยะหัวเรื่อง: Fuel | Waste | เชื้อเพลิงสังเคราะห์ | ขยะพลาสติกสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access IP-fulltext สาระสังเขป: กระบวนการเปลี่ยนขยะพลาสติกให้เป็นเชื้อเพลิงเหลวด้วยกระบวนการไพโรไลซิส เป็นกระบวนการหนึ่งที่น่าสนใจและสามารถนำมาใช้กำจัดขยะพลาสติกได้อย่างมีประสิทธิภาพ. งานวิจัยนี้ศึกษาผลกระทบของอุณหภูมิ, อัตราการป้อนพลาสติก และอัตราส่วนของพลาสติกที่มีต่อผลิตภัณฑ์เหลวที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิสพลาสติกโดยเครื่องต้นแบบไพไรไลซิสแบบต่อเนื่อง. พลาสติกที่ใช้ในการทดลอง คือ พลาสติกประเภทพอลิโพรพิลีน (PP) และพอลิเอทิลีน (PE). เงื่อนไขที่ใช้ในการทดลองมีดังนี้ อุณหภูมิที่ใช้ภายในเครื่องปฏิกรณ์ คือ 250, 300, 350 และ 400 องศาเซลเซียส ภายใต้ความดันบรรยากาศ อัตราการป้อนวัตถุดิบเข้าเครื่องปฏิกรณ์ คือ 0.08, 0.33 และ 0.67 กรัมต่อวินาที และอัตราส่วนผสมระหว่าง PP และ PE คือ 1:1 ที่ 300 และ 350 องศาเซลเซียส. จากการทดลองพบว่า ผลิตภัณฑ์ที่เป็นของเหลวและของแข็งมีแนวโน้มลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ในขณะที่ผลิตภัณฑ์ที่เป็นแก๊สเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิที่สูงขึ้น แต่ของเหลวที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิสพลาสติก PE น้อยกว่าของเหลวที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิสพลาสติก PP ผลิตภัณฑ์ที่เป็นของเหลวที่มีปริมาณมากที่สุด (ร้อยละ 62.4) ที่อุณหภูมิ 350 องศาเซลเซียส และอัตราการป้อนพลาสติก 0.33 กรัมต่อวินาที. จากการไพโรไลซิส PP ในส่วนของการศึกษาผลของอัตราส่วนของพลาสติก PP และ PE (1:1) พบว่า ผลิตภัณฑ์เหลวจากการไพโรไลซิสที่ 300 องศาเซลเซียส มีปริมาณมากกว่าผลิตภัณฑ์เหลวจากการไพโรไลซิสที่ 350 องศาเซลเซียส แต่อย่างไรก็ตาม อัตราการป้อนพลาสติกจะส่งผลค่อนข้างน้อยต่อปริมาณของผลิตภัณฑ์ของเหลวที่ได้.สาระสังเขป: This research aimed to study the effect of using waste plastic oil in a diesel engine without any engine modification. The engine used in this study is a 6 cylinders naturally aspirated 4-stroke diesel engine (Compress Ignition) “Hino Wo6d”. In order to measure and compare the effectiveness, an experiment has been conducted on various plastic oil fuel mixtures, including 75:25 (blend 25%), 50:50 (blend50%) and 25:75 (blend 75%). The test results showed that the specific fuel consumption of waste plastic oil blends was higher than that of diesel fuel. The amount of carbon dioxide, carbon monoxide, hydrocarbon and nitrogen oxide from waste plastic oil blends was higher than diesel operation.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Available 2022-08-31 IP00083
General Book
Available 2019-02-12 RP2017/1706
General Book
Available 2019-02-12 RP2017/1706-1

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300