ศึกษาการขยายพันธุ์พืชสมุนไพรที่หายากและใกล้สูญพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ = propagation of the rare and endangered medicinal plants by tissue culture / Ittirit Ungvichian ...[etal.]

ผู้แต่งร่วม: Chaidaroon, Ungvichian | Duwao, Kulthida | Prapassorn, Hathairat | Rattanathawornkiti, Kanlaya | Ungvichian, Ittirit | ชัยดรุณ, สมนึก | กุลธิดา ดุเหว่า | หทัยรัตน์ ประภัสสร | กัลยา รัตนถาวรกิติ | อิทธิฤทธิ์ อึ้งวิเชียร | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 45-04, Sub proj. no. 6 ; Rep. no.1 (Final Report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2017 รายละเอียดตัวเล่ม: 62 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: ศึกษาการขยายพันธุ์พืชสมุนไพรที่หายากและใกล้สูญพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อหัวเรื่อง: Herbal medicine | Medicinal plants | การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ | พืชสมุนไพรสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text General note: Nowadays, demand for medicinal plants is increasing due to people are more fascinated toward herbal medicine. Collection of medicinal plant from a forest caused a problem in lacking of seed and planting material that is being pushed to an extinction of medicinal plant. This study is conducted in order to solve this problem. Thirty-seven species of medicinal plants had been used to determine the effective protocol for micro propagation. Most of the specimens were unsuccessfully transferred to the experiment due to the contamination of germs and the conditions of the explants themselves. Several nutrient media supplemented with various types, concentrations and combinations of plant growth regulators were tested in this study. However, only ten species of herbs e.g. Cinnamomum camphora Th Fries, Kaempheria pafiflora, Zingiber ottensii Valeton, Zingiber cassumunar Roxb., Curcuma longa Linn. were successfully regenerated and responded to the plant growth regulators especially 6-benzylaminopurine (BA) and Thidiazuron (TDZ) which could increase the number of shoot effectively. สาระสังเขป: ปัจจุบันมีการนำพืชสมุนไพรมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางและมีความต้องการเป็นจำนวนมาก ดังนั้น การศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสมุนไพรดังกล่าว เพื่อให้สามารถผลิตกล้าสมุนไพรให้เพียงพอต่อความต้องการและป้องกันการสูญพันธุ์ของสมุนไพรสายพันธุ์ต่างๆ. จากการศึกษาทดลองนำชิ้นส่วนต่างๆ ของสมุนไพรทั้งหมดประมาณ 37 ชนิด มาทำการทดลองเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในอาหารสังเคราะห์ที่ประกอบด้วยสารควบคุมการเจริญเติบโตชนิดต่างๆ พบว่า ส่วนใหญ่สมุนไพรที่นำมาศึกษามักจะไม่ตอบสนองต่ออาหารสังเคราะห์และบางชนิดไม่สามารถฟอกให้ปลอดเชื้อได้ อย่างไรก็ตาม มีพืชสมุนไพร 10 ชนิด ที่มีการตอบสนองต่ออาหารเพาะเลี้ยง โดยสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่ม Cytokinin โดยเฉพาะสาร 6-benzylaminopurine (BA) และ Thidiazuron (TDZ) ที่สามารถกระตุ้นให้สมุนไพร การบูร, มหาปราบ, ยางดำ, ไพล, ไพลม่วง, กระชายดำ, กระชายขาว, เปราะหอม, พญาว่าน และรางจืดมีการเพิ่มขึ้นของจำนวนยอดค่อนข้างชัดเจน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number Unit สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
2016 Available 2018-08-31 1 RP2016/1707
General Book
วว. เทคโนธานี
2016 Available 2018-08-31 2 RP2016/1707-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300