การพัฒนาการออกแบบและจัดสร้างปฏิกรณ์ต้นแบบที่ใช้ในขั้นตอนการปรับสภาพวัตถุดิบและการไฮโดรไลซีสในกระบวนการผลิต เอทานอลจากวัสดุประเภทเส้นใย = designing and constructional development on prototype of raw material pretreatment and hydrolysis units for cellulosic ethanol production / Vishnu Panphan ...[etal.]

ผู้แต่งร่วม: Ekarat Vutivet | Jirous Siriniwatkul | Kitti Orasoon | Suthkamol Suttikul | Thapparait Kunhanont | Vishnu Panphan | เทพฤทธิ์ กัณหานนท์ | เอกรัตน์ วุฒิเวทย์ | กิตติ อรสูญ | จิรัสย์ สิรินิวัฒน์กุล | วิษณุ ปั้นพันธุ์ | สุทธิ์กมล สุทธิกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 57-09, Sub proj. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2016 รายละเอียดตัวเล่ม: 58 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาการออกแบบและจัดสร้างปฏิกรณ์ต้นแบบที่ใช้ในขั้นตอนการปรับสภาพวัตถุดิบและการไฮโดรไลซีสในกระบวนการผลิตเอทานอลจากวัสดุประเภทเส้นใยหัวเรื่อง: Ethanol | เอทานอล | ปฏิกรณ์ต้นแบบสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: In this study, the novel 2 impellers (Hellix1 and Hellix2), were designed and applied to enzymatic saccharification of sugarcane trash, compared with the 2 common impellers (Plate and Rushton). The reducing sugar concentration from enzymatic saccharification of sugarcane trash using these 4 impellers was compared. As the mixing between the solid lignocellulose and the enzymes was crucially important, the function of the impeller was, therefore, essential in the process in order to produce maximum sugar concentration, leading to high ethanol yield and low overall production cost.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการปรับเปลี่ยนใบกวนเพื่อไฮโดรไลซิสเอนไซม์ที่ความหนาแน่นสูง (high gravity hydrolysis) ซึ่งในปัจจุบันลักษณะใบกวนในปฏิกรณ์ชีวภาพแบบเดิมไม่สามารถตอบโจทย์ในการไฮโดรไลซิสในรูปแบบสเลอรีได้ ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของใบกวนจึงมีความจำเป็นในการทำการทดสอบ เพื่อให้สามารถทำการผลิตที่สภาวะความเข้มข้นสูงได้ทำให้ต้นทุนในการผลิตเอทานอลจากวัสดุลิกโนเซลลูโลสโดยรวมลดลง. จากการเปรียบเทียบการปรับสภาพด้วยวิธีการต่างๆ พบว่า สภาวะเหมาะสมที่ใช้ในการปรับสภาพชีวมวลยอดและใบอ้อย คือ การปรับสภาพในหม้อต้มความดัน (Auto-Clave) ที่อุณหภูมิ 121oซ. ความดัน 1.5 บาร์ เป็นเวลา 15 นาที โดยใช้ร้อยละ 2 (น้ำหนักโดยปริมาตร) NaOH สัดส่วนของวัตถุดิบยอดและใบอ้อยและสารละลายเบสเท่ากับร้อยละ 15 (น้ำหนักโดยปริมาตร) โดยองค์ประกอบที่ได้จากการปรับสภาพประกอบด้วย NDS ร้อยละ 13, เฮมิเซลลูโลสร้อยละ 17.15, เซลลูโลสร้อยละ 63.78, ลิกนินร้อยละ 2.98 และเถ้าร้อยละ 2.32 ซึ่งจะใช้เป็นซับสเตรตในขั้นตอนของการไฮไดรไลซิส.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2016/1627

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300