การวิจัยและพัฒนาการผลิตโอลิโกแซ็กคาไรด์พรีไบโอติกจากพืชเศรษฐกิจของไทย = research and development of oligosaccharide prebiotic production from economic crops of Thailand / Premsuda Saman...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Artjariyasripong, Suparp | Chatanon, Lawan | Fungsin, Bundit | Saman, Premsuda | Singhtho, Siritham | ลาวัลย์ ชตานนท์ | บัณฑิต ฝั่งสินธุ์ | เปรมสุดา สมาน | ศิริธรรม สิงห์โต | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-06, Sub. Proj. no. 4 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2016 รายละเอียดตัวเล่ม: 35 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาการผลิตโอลิโกแซ็กคาไรด์พรีไบโอติกจากพืชเศรษฐกิจของไทยหัวเรื่อง: Amylomyces rouxii | Aspergillus oryzae | Fungi | Oligosaccharides | Prebiotics | Riceสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: This study aimed to evaluate the potential use of Thai rice for the production of prebiotic oligosaccharides through fungal fermentation. Solid-state fermentations (SSF) of two rice varieties, glutinous rice RD6 and jasmine rice KDM 105 with two strains of fungi, Aspergillus oryzae TISTR 3108 and Amylomyces rouxii TISTR 3182 were compared. The results showed that in all cases, the maximum values of amylolytic activity and total reducing sugar were observed using rice in SSF with initial moisture content of 70% and inoculated with the inoculum size of 107 spores/g . The optimal conditions of SSF were performed at initial pH 6 and 30 °C for 5 days. SSF of waxy rice RD6 with Aspergillus oryzae produced highest concentrations of isomalto-oligosaccharides which consisted of isomaltose (38 g/l), panose (8 g/l) and isomaltotriose (6 g/l). After fermentation, mash was used to further hydrolyse the remaining starch in rice slurry. The subsequent rice syrup contained higher amounts of isomaltose, panose and isomaltotriose with the values of 44, 10 and 7 g/l respectively. The productivity of isomalto-oligosaccharides could be improved by transglucosidase activity. The concentration of isomalto-oligosaccharides increased by 21%. The prebiotic isomalto-oligosaccharide syrup could be pasteurised and maintained at 0-4 °C for more than 2 months.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการผลิตโอลิโกแซ็กคาไรด์พรีไบโอติกจากข้าวไทยโดยใช้กระบวนการหมักแบบแห้ง (solid-state fermentation), เปรียบเทียบระหว่างเชื้อรา 2 สายพันธุ์ คือ Aspergillus oryzae TISTR 3108 และ Amylomyces rouxii TISTR 3182, ข้าวไทยที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการหมักประกอบด้วยข้าวเหนียว กข 6 และข้าวเจ้าหอมมะลิ 105. ผลการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมของการหมักแบบแห้งที่ให้ค่า amylolytic activity และน้ำตาลรีดิวซ์สูงสุด เมื่อหมักข้าวที่มีความชื้น 70%, ค่า pH เริ่มต้นที่ 6 และใช้หัวเชื้อสปอร์ความเข้มข้น 107 สปอร์ต่อกรัม, โดยบ่มเลี้ยงที่ 30 °ซ. เป็นเวลา 5 วัน, ข้าวเหนียวที่หมักด้วย Aspergillus oryzae จะให้ปริมาณ prebitoic isomalto-oligosaccharides ประกอบด้วย isomaltose, panose และ isomaltotriose สูงสุด โดยมีค่า 38 กรัม/ลิตร, 8 กรัม/ลิตร และ 6 กรัม/ลิตร ตามลำดับ. เมื่อสารละลายข้าวเหนียวหมักผ่านกระบวน การย่อยแป้งที่เหลือ (mashing) จะทำให้มีปริมาณ isomaltose, panose และ isomaltotriose เพิ่มขึ้นโดยมีค่าเท่ากับ 44 กรัม/ลิตร, 10 กรัม/ลิตร และ 7 กรัม/ลิตร ตามลำดับ, และเมื่อผ่านกระบวนการ ทรานกลูโคซิเลชัน (transglucosylation) สารละลายข้าวเหนียวที่ได้จะมีปริมาณ isomaltose, panose และ isomaltotriose เพิ่มขึ้นถึง 21%, สารละลาย prebiotic isomalto-oligosaccharides เมื่อผ่านการฆ่าเชื้อแบบพลาสเจอร์ไรส์และเก็บที่อุณภูมิ 0-4 °ซ. จะสามารถเก็บรักษาได้มากกว่า 2 เดือน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number Unit สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
2016 Available 2018-08-31 1 RP2016/1643-2
General Book
วว. เทคโนธานี
2016 Available 2018-08-31 1 RP2016/1643
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
การวิจัยและพัฒนาวิธีการทดสอบการสลายตัวของพลาสติกชีวภาพในสภาวะจำลองธรรมชาติของประเทศไทย = research and development on biodegradability of biodegradable plastic in natural-simulation conditions of Thailand / การใช้ประโยชน์จากน้ำมันไพลในแต่ละพันธุ์ที่ช่วงอายุการผลิตต่างๆ กัน = contents in different phlai varieties at various stages of growth and under different conditions of cultivations / การใช้ประโยชน์จากน้ำมันไพลในแต่ละพันธุ์ที่ช่วงอายุการผลิตต่างๆ กัน = contents in different phlai varieties at various stages of growth and under different conditions of cultivations / การวิจัยและพัฒนาการผลิตโอลิโกแซ็กคาไรด์พรีไบโอติกจากพืชเศรษฐกิจของไทย = research and development of oligosaccharide prebiotic production from economic crops of Thailand / การวิจัยและพัฒนาการผลิตโอลิโกแซ็กคาไรด์พรีไบโอติกจากพืชเศรษฐกิจของไทย = research and development of oligosaccharide prebiotic production from economic crops of Thailand / การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวเพื่อสุขภาพ = development of packaging for healthy snacks / การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวเพื่อสุขภาพ = development of packaging for healthy snacks /

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300