อนุสิทธิบัตรเรื่อง:กรรมวิธีการสกัดสารเบต้ากูลแกนจากเห็ดตะกูลนางรม = Research and development of production technology of soluble dietary fibers from oyster mushrooms / Supatra Piemvaree...[et al.] (CONFIDENTIAL)

ผู้แต่งร่วม: Bunyaphak, Poonnapha | Inyod, Tanapuk | Jamjumroon, Soravit | Kumlung, Tantima | Piemvaree, Supatra | Sartpech, Chitta | Sasomsub, Wantana | Sungkarn, Surivipa | Verasathiean, Sawithree | สุพัตรา เปี่ยมวารี | สรวิศ แจ่มจำรูญ | ตันติมา กำลัง | ปุณณภา บุญยะภักดิ์ | สาวิตรี วีระเสถียร | วันทนา สะสมทรัพย์ | สุริวิภา สังขาร | จิตตา สาตร์เพ็ชร์ | ธนภักษ์ อินยอด | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
BCG: อาหาร TRM: อาหาร Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 55-03, Sub. Proj. no. 3ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2016 รายละเอียดตัวเล่ม: 99 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง:วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตใยอาหารที่ละลายน้ำจากเห็ดตระกูลนางรม | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสารสกัดเห็ดพร้อมดื่ม ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสารสกัด เห็ดสำเร็จรูปผงพร้อมชงดื่ม น้ำพริกเผาเห็ด 3 อย่าง การนำไปต่อยอด:ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์พร้อมริโภค (กลุ่มผู้ประกอบการขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดย่อมสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ) 2557 -พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพต้นแบบ จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์:-ตรวจสอบสมบัติของผลิตภัณฑ์ใยอาหารที่ละลายน้ำที่ผ่านการทำบริสุทธิ์หัวเรื่อง: Dietary fiber | Mushrooms | Oyster mushroom | Polysaccharidesสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: This study aimed to search for solvent and optimum conditions for extract Oyster mushroom's polysaccharides. The extraction methods were compared by using 60%, 70% and 80% ethanol with and without 0.10% hydrochloric acid (catalytic substance) for 6-9 hours. The extraction method using 60% ethanol with a catalytic substance gave the higher amount of polysaccharide more than ethanol alone. Other extraction methods using sodium hydroxide (2% and 4%) were tested by comparing between the extraction with 2% and 4% of sodium hydroxide at the room temperature and autoclaved at 121°C for 15 minutes. The results showed that the extraction with 2% and 4% of sodium hydroxide at 121°C for 15 minutes gave the higher amount of polysaccharide. Both extraction methods gave the high amount of polysaccharide but the first method with ethanol was more suitable in large scale production than the second method with sodium hydroxide. Antioxidant activities were tested using three methods include Phenolic, DPPH and ABTS+ assays. The results showed that polysaccharide has antioxidant activities. It has ability to stimulate growth of three strains of Lactic bacteria (Bif. TISTR 20456, L.TISTR 785 and L.TISTR 541). The molecular weight of extracted polysaccharide analysed with HPLC was 13,700 Da. In addition, the two products developed from extracted polysaccharide which were concentrated mushroom drink and tea, have a great quality, high polysaccharide quantity, a high customer contentment, and the shelf-life of both products can be extended for 2-3 months.สาระสังเขป: ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาตัวทําละลายและสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดสารพอลิแซ็กคาไรด์จาก เห็ดตระกูลนางรม โดยเปรียบเทียบการสกัดระหว่างการสกัดด้วย 60, 70, 80 เปอร์เซ็นต์เอทานอล เร่งปฏิกิริยาด้วย 0.10 เปอร์เซ็นต์ไฮโดรคลอริก เวลา 6-9 ชั่วโมง เทียบกับไม่เร่งปฏิกิริยา พบว่า การสกัดด้วย 60 เปอร์เซ็นต์เอทานอล โดยเร่งปฏิกิริยา ได้ปริมาณสารสกัดพอลิแซ็กคาไรด์มากกว่า การสกัดด้วยเอทานอลที่ไม่เร่งปฏิกิริยา โดยมีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) และ ศึกษาการสกัดด้วย 2, 4 เปอร์เซ็นต์โซเดียมไฮดรอกไซด์ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 12 ชั่วโมง เทียบกับการสกัดด้วย 2, 4 เปอร์เซ็นต์โซเดียมไฮดรอกไซด์ที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15 นาทีพบว่า ที่อุณหภูมิ121 องศาเซลเซียส สามารถสกัดสารพอลิแซ็กคาไรด์ได้มากกว่าการสกัด อุณหภูมิห้อง มีความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) จากผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า การสกัดสารพอลิแซ็กคาไรด์จากเห็ดตระกูลนางรม สามารถสกัดโดยใช้ 60 เปอร์เซ็นต์เอทานอล เร่ง ปฏิกิริยาด้วยกรดไฮโดรคลอริก ช่วงเวลา 6-9 ชั่วโมง และการสกัดด้วย 2, 4 เปอร์เซ็นต์โซเดียม ไฮดรอกไซด์ที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส เวลา 15 นาทีสามารถสกัดสารพอลิแซ็กคาไรด์ได้ ปริมาณสูงทั้งสองวิธี. แต่วิธีการที่ สอง การสกัดด้วยเอทานอลจะสามารถนําไปปรับใช้ในการขยายการ ผลิตในระดับอุตสาหกรรมได้ง่ายกว่า. การทดสอบความสามารถต้านออกซิเดชัน 3 วิธีคือ Phenolic, DPPH และ ABTS.+ พบว่า สารสกัดพอลิแซ็กคาไรด์ที่เป็นใยอาหารที่ ละลายน้ํา มีความสามารถต้านออกซิเดชัน และจากผลการ ทดสอบความสามารถส่งเสริมการเจริญของจุลินทรีย์ในกลุ่มโพรไบโอติก (Bif. TISTR 20456, L.TISTR 785 และ L.TISTR 541) พบว่า สารสกัดสามารถส่งเสริมการเจริญของจุลินทรีย์ได้และเม ื่ อนําไป วิเคราะห์หาน ้ํ าหนักโมเลกุลพบว่า สารสกัดมีขนาดน ้ํ าหนักโมเลกุลเท่ากับ 13,700 ดาลตัน. นอกจากน ี้ยังนําสารสกัดพอลิแซ็กคาไรด์ที่ได้ไปผลิตภัณฑ์อาหารเพ ื่ อสุขภาพต้นแบบ 2 ผลิตภัณฑ์คือ น้ําเห็ดสกัดและชาผงเห็ดสกัดพร้อมชง เปรียบเทียบคุณภาพของผลิตภัณฑ์, คุณค่าทาง อาหารและความพึงพอใจของผู้บริโภค พบว่า ผลิตภัณฑ์น้ําเห็ดสกัด และชาผงเห็ดสกัดพร้อมชง สูตร ที่ 3 มีคุณภาพ, คุณค่าทางอาหารสูง และผู้บริโภคพึงพอใจ อีกท ั้ งมีอายุการเก็บรักษาได้นานถึง 3 เดือน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Not For Loan 2022-06-14 IP00029

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300