การถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ลองกองและเงาะแช่อิ่มอบแห้งสู่พื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ = Technology transfer on production of osmotically dehydrated longkong and rambutan products to the five southern provinces / Panida Banjongsinsiri...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Anaket, Anchun | Banjongsinsiri, Panida | Lekhavat, Supaporn | Noojuy, Nowwapan | Pasakawee, Krittalak | Taksima, Takunrat | สุภาภรณ์ เลขวัต | ถกลรัตน์ ทักษิมา | ปนิดา บรรจงสินศิริ | กฤตลักษณ์ ปะสะกวี | เนาวพันธ์ หนูจุ้ย | อัญชัญ อาณาเขตร์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 55-14ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2016 รายละเอียดตัวเล่ม: 163 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ลองกองและเงาะแช่อิ่มอบแห้งสู่พื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้หัวเรื่อง: Dehydrated Long-kong | Dehydrated rambutan | Fruit preservation | Long-kong | Technology transferสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: This research was aimed to transfer the technology of production of osmotically dehydrated longkong and rambutan products to the five southern provinces of Thailand (Yala, Songkhla, Pattani, Satun and Narathiwat) focusing on longkong and rambutan growers and community enterprise. Group survey was firstly carried on by the courtesy of the office district agricultural extension of Amphoe Khok, Pattani; Amphoe Saba Yoi, Na Thawi and Rattaphum, Songkhla; and Amphoe Khuan Kalong, Satun for selecting the agricultural house wife having the potential and capability to take this technology. Thereafter, training on the production of osmotically dehydrated longlong and rambutan includilng santol products requested from the agricultural groups. The details of training activities were as followed. In 2012, training course on the production of osmotically dehydrated longkong, rambutan and santol products was transferred to Saai kaao agricultural housewife group, Khok Pho, Pattani with 21 participants on September 17-18, 2012. In 2013, the chosen representatives (37 persons) from four groups of community enterprise: 1. Village Health Volunteer( VHV) of Tha Chamuang district, Amphoe Rattanaphum Songkhla 2. Pha Red of Plak Nu district and 3. Processed Velvet Tamarind products of Thapradoo district, Amphoe Na Thawi, Songkhla 4. Thungnui Charoensup of Thungnui district Ampoe Khuan Kalong, Satun were trained on the production program of dehydrated longkong, rambutan and santol products at Demonstrate Sufficient Economic Center, Rattaphum, Songkhla. on May 27-30, 2012. In 2014, training course of osmotically dehydrated longkong and rambutan process was held on Processed Velvet Tamarind product group of Tha Pradu district, Amphoe Na Thawi, Songkhla with the total participants of 30 persons on April 2-3, 2014. Handbooks on the production of osmotically dehydrated longkong, rambutan and santol products were provided to the participants during training. In addition, it was found that three agricultural housewife groups attended the training program can produce dehydrated products for sale. First, Saai kaao agricultural housewife group can increase the income 29% compared to before training. Another two groups are Pha Red agricultural house wife group and Processed Velvet Tamarind product community enterprise which are doing the production.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑ์ลองกองและเงาะแช่อิ่มอบแห้งสู่พื้นที่ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ (ยะลา, สงขลา, ปัตตานี, สตูล และนราธิวาส) ประเทศไทย. โดยมุ่งเน้นให้กับเกษตรผู้เพาะปลูกลองกอง และเงาะ รวมถึงกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ซึ่งการดำเนินงานขั้นแรก เริ่มจากการลงสำรวจกลุ่มในพื้นที่ดังกล่าว โดยได้รับความอนุเคราะห์จากเกษตรอำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี, เกษตรอำเภอสะบ้าย้อย, นาทวี และรัตภูมิ จังหวัดสงขลา และเกษตรอำเภอ ควนกาหลง จังหวัดสตูล ที่ได้คัดเลือกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรที่มีศักยภาพและความสามารถในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี. จากนั้น วว. จึงได้ดำเนินการจัดการฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต ผลิตภัณฑ์ลองกองและเงาะแช่อิ่มอบแห้ง รวมถึงกระท้อนแช่อิ่มอบแห้ง เนื่องจากได้รับการร้องขอจากกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร โดยมีรายละเอียดของกิจกรรมการฝึกอบรม ดังนี้: - ปี พ.ศ. 2555 จัดฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ลองกอง และกระท้อน แช่อิ่มอบแห้งให้แก่กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี โดยมีผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 21 คน วันที่ 17-18 กันยายน 2555. - ปี พ.ศ. 2556 จัดฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ลองกอง, เงาะ และกระท้อนแช่อิ่มอบแห้งให้กับตัวแทนที่ได้รับการคัดเลือก 37 คน จากสี่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน: 1. กลุ่ม แม่บ้านเกษตรกรวิสาหกิจชุมชนและโครงการส่งเสริมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลท่าชะมวง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา 2. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านปาเร็ด ตำบลปลักหนู อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 3. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ลูกหยี ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 4. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรทุ่งนุ้ยเจริญทรัพย์ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ณ ศูนย์สาธิตฝึกอาชีพเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา วันที่ 27-30 พฤษภาคม 2556. - ปี พ.ศ. 2557 จัดฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ลองกอง และเงาะ แช่อิ่มอบแห้ง ในพื้นที่ให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ลูกหยี ตำบลท่าประดู่ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา โดยมีผู้เข้าร่วมฝึกอบรม 30 คน ในวันที่ 2-3 เมษายน 2557. วว. ได้จัดทำหนังสือคู่มือการผลิตลองกอง, เงาะ และกระท้อนแช่อิ่มอบแห้งให้กับผู้เข้าร่วมการฝึกอบรม นอกจากนี้ จะพบว่ากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรที่ได้รับการฝึกอบรม ได้นำความรู้ที่ได้ไปทำการผลิตลองกอง และเงาะแช่อิ่มอบแห้งเพื่อจำหน่ายได้จริง จำนวน 3 ราย ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านทรายขาว ซึ่งปัจจุบันสามารถผลิตจัดจำหน่าย และสามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นจากเดิม 29% ส่วนอีก 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านปาเร็ด และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ลูกหยี กำลังอยู่ระหว่างทำการผลิตเพื่อจำหน่าย.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2016/1661

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300