อนุสิทธิบัตรเรื่อง : กรรมวิธีการผลิตและสูตรวุ้นเส้นจากสตาร์ชเมล็ดขนุน = สิทธิบัตรเลขที่ : 1601004870 / Wimonsri Phantanaprates, Jirawat Eiamwat

โดย: Phantanaprates, Wimonsri
ผู้แต่งร่วม: Eiamwat, Jirawat | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 56-02, Sub Proj. no. 3 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Pathumthani : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2016 รายละเอียดตัวเล่ม: จ, 65 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง : วิจัยและพัฒนากระบวนการผลิตแป้งบริสุทธิ์จากเมล็ดผลไม้เพื่อประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี : ได้เมล็ดเงาะจาก รง.มาลีเมล็ดมะม่วงและเมล็ดขนุนจากตลาดไทยใช้วิธีสกัด (SCE)ผลิตภัณฑ์แป้งสตารช์จากเมล็ดขนุน มะม่วง เงาะมีการทดลองค่า Resistance Starch สูงกว่าแป้งทั่วไปหรือไม่ | การนำไปต่อยอด : สตาร์ชจากเมล็ดผลไม้และอาหารเส้นจากสตาร์ชผลไม้/กลุ่มอุตสาหกรรมผู้ผลิตแป้ง และสตาร์ซ | จุดเด่นของเทคโนโลยี/ ผลิตภัณฑ์ : - ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีความบริสุทธิ์สูง - ปลอดภัยต่อผู้บริโภค นำมาใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารเพื่อสุขภาพหัวเรื่อง: Food industry | Fruit seed | Fruit wastes | Jackfruit | Manto | Rambutan | Starch | Waste utilizationสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access IP-fulltext สาระสังเขป: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โดยฝ่ายเทคโนโลยีอาหารได้ดำเนินโครงการวิจัยนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตแป้งบริสุทธิ์/สตาร์ช (starch) จากเนื้อเมล็ดผลไม้ 3 ชนิด ได้แก่ เมล็ดเงาะ, เมล็ดขนุนและเมล็ดมะม่วง เพื่อนำไปใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ สตาร์ชเมล็ดผลไม้ทั้ง 3 ชนิด ผลิตได้จากการสกัดแยกน้ ามันและไขมันด้วยเทคนิค Supercritical carbon dioxide extraction (SCE) หรือด้วยวิธีการใช้ตัวทำละลายเอทานอลในการสกัด และสกัดแยกโปรตีนด้วยตัวท าละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) สตาร์ชเมล็ดเงาะมีปริมาณไขมัน ร้อยละ 2.46, โปรตีน ร้อยละ 0.92, คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 89.98, มีอุณหภูมิเจลาติไนซ์ที่ 95 oซ. และมีค่าความหนืดสูงสุด 349 RVU สามารถประยุกต์ใช้สตาร์ชเมล็ด เงาะเพื่อเป็นสารให้ความข้นหนืดในผลิตภัณฑ์น้ าสลัดแคลอรีต่ า ซึ่งผลิตภัณฑ์ได้รับการยอมรับร้อยละ 69 จำนวน 30 คน, สตาร์ชเมล็ดขนุนมีปริมาณไขมัน ร้อยละ 0.54, โปรตีนร้อยละ 0.90, คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 92.34 และมีอุณหภูมิเจลาติไนซ์ที่ 87.35 oซ. มีค่าความหนืดสูงสุด 2132 RVU และมีปริมาณร้อยละ Resistance starch มากถึงร้อยละ 52 สามารถประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์วุ้นเส้นเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์ได้รับการยอมรับร้อยละ 77 จ านวน 30 คน, สตาร์ชเมล็ดมะม่วงที่มีปริมาณไขมันร้อยละ 0.92, โปรตีนร้อยละ 0.70, คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 93.85, มีอุณหภูมิเจลาติไนซ์ที่ 83.78 oซ., มีค่าความหนืดสูงสุด 3485 RVU และมีปริมาณร้อยละ Resistance starch ร้อยละ 24.70 สามารถประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ขนมปังเพื่อสุขภาพได้ทดแทนแป้งสาลีร้อยละ 10 ผลิตภัณฑ์ได้รับการยอมรับร้อยละ 82 เมื่อท าการทดสอบทางประสาทสัมผัสเบื้องต้น.สาระสังเขป: This project was carried out by the Food Technology Department, Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) with the aim to develop the production of starch from three seed fruit kernels i.e. rambutan, jackfruit and mango seed in order to develop into health food products. Starch from 3 kinds of the seed kernel were produced by the extraction of oil and fat technique of Supercritical Carbon dioxide Extraction (SCE) or the ethanol solvent extraction, and then the protein extraction with sodium hydroxide (NaOH) solvent. Rambutan seed kernel starch consisted of 2.46 percent fat, 0.92 percent protein, 89.98 percent carbohydrates. Its gelatinized temperature was at 95 oC with the peak viscosity by RVA at 349 RVU. Rambutan seed kernel starch was applied as the thickening agent of low-calorie salad dressing products which were accepted by 69 percent of 30 panelists. Jackfriut seed kernel starch consisted of 0.54 percent fat, 0.90 percent protein, and 92.34 percent carbohydrates. Its gelatinized temperature was at 87.35 oC with the peak viscosity by RVA being 2132 RVU and 52 percent of resistance starch. Starch from jackfruit seed kernel can be used for making transparent noodle health products. They were accepted by 77 percent of 30 panelists. Mango seed kernel starch consisted of 0.92 percent fat, 0.70 percent protein, and 93.85 percent carbohydrates. Its gelatinized temperature was at 83.78 oC with the peak viscosity by RVA at 3485 RVU and 24.70 percentage of resistance starch. Mango seed kernel starch can be utilized in bread health products. It could be substituted 10 percent of wheat flour, with 82 percent of the preliminary sensory test.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
Intellectual Property
Available 2022-08-30 IP00062
Intellectual Property
Available 2022-08-30 IP00063
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2016/1603-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2016/1603
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
วิจัยพัฒนาวิธีการผลิตสารสกัดสมุนไพรมาตรฐานสำหรับป้องกันกำจัดศัตรูพืช = research and development on production of standardized botanical extract for plant's pest control / 1 เรื่อง 1. อนุสิทธิบัตรเรื่อง : สูตรอาหารเส้นปราศจากกลูเตนพร้อมบริโภค. 2558 2. กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตมังสวิรัติจากถั่ว. 2558= 1 เรื่อง 1. อนุสิทธิบัตรเรื่อง : สูตรอาหารเส้นปราศจากกลูเตนพร้อมบริโภค. 2558 2. กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตมังสวิรัติจากถั่ว. 2558= อนุสิทธิบัตรเรื่อง : กรรมวิธีการผลิตและสูตรวุ้นเส้นจากสตาร์ชเมล็ดขนุน = อนุสิทธิบัตรเรื่อง : กรรมวิธีการผลิตและสูตรวุ้นเส้นจากสตาร์ชเมล็ดขนุน = อนุสิทธิบัตรเรื่อง:สูตรผสมสมุนไพรสำหรับผลิตภัณฑ์ปรับสมดุลของร่างกาย = สิทธิบัตรเลขที่1101000754 อนุสิทธิบัตรเรื่อง:สูตรผสมสมุนไพรสำหรับผลิตภัณฑ์ปรับสมดุลของร่างกาย = สิทธิบัตรเลขที่1101000754

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300