อนุสิทธิบัตรเรื่อง :กระบวนการผลิตน้ำมันชีวมวลแบบไพโรไลซีสความดันสูงชนิดต่อเนื่อง = สิทธิบัตรเลขที่:1301005129 Siriporn Larpkiattaworn...[et al.] (CONFIDENTIAL)

ผู้แต่งร่วม: Laksana Kreethawate | Phunthinee Somwongsa | Siriporn Larpkiattaworn | Supranee Lao-ubol | Wasana Khongwong | พันธ์ฐิณี สมวงศ์ษา | ลักษณา กรีฑาเวทย์ | วาสนา ฆ้องวงศ์ | ศิริพร ลาภเกียรติถาวร | สุปราณี เหล่าอุบล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 55-06, Sub. Proj. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2015 รายละเอียดตัวเล่ม: 104 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง:การสังเคราะห์สารเร่งปฏิกิริยาเพื่อผลิตน้ำมันชีวภาพจากกระบวนการไพโรไลซิส | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี:1.สารเร่งปฏิกิริยาสำหรับกระบงนการไพโรไลซิส 2.กระบวนการผลิตน้ำมันชีวภาพคุณภาพดีจากกระบวนการไพโรไลซิส การนำไปต่อยอด:เป็นการเพิ่มคุณภาพของน้ำมันชีวมวล เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือผลิตเป็น gasoline (อุตสาหกรรมขนาดใหญ่หรือ SME ที่ต้องการใช้ biomass ในการผลิตเชื้อเพลิงเหลวด้วยกระบวนการไพโรไลซิส)หัวเรื่อง: Biofuels | Catalysts | Jatropha spp | Pyrolysisสาระสังเขป: In this study, two groups of catalysts were synthesized using the different supports of alumina and alumina-silica in form of zeolite to produce bio-oil from pyrolysis of jatropha residues. The pyrolyzer was set up in the size of laboratory scale. Gas and oil produced from pyrolysis were analyzed using GC-MS. Various parameters of type and amount of catalysts, and controlled gas atmosphere were studied for the effect on bio-oil properties. The results showed that the different of catalyst supports would have an effect on the bio-oil quality. Using the synthesized catalysts with zeolite support resulted in higher quality bio-oil than those using the synthesized catalyst with alumina support. The zeolite support should have a SiO2/Al2O3 ratio in the range of 30-37 mol/mol. Impregnation of Cu, Zn, Ni and Pd on alumina supports did not shown significant different of catalyst efficiency. The bio-oil obtained from pyrolysis of jatropha residue with the impregnated Pd and Pt on zeolite support catalyst had aromatic hydrocarbon less than 35%. It was found that using the impregnated Pd and Pt on zeolite supported catalyst resulted in the lower aromatic hydrocarbon in bio-oil than those using the uncoated zeolite supports with heat treatment. Two separated parts of liquid produced from pyrolysis were composed of viscous black oil and light brown liquid. The compositions of viscous black oil were aromatic hydrocarbons, phenols, fatty acids, alcohols/ketones/ethers, N-heterocycles, N-nonheterocycles, etc. In contrast, acid solution and solution with oxide group and nitrogen group were detected in light brown liquid. It was found that using zeolite based catalysts at 1:1 ratio of catalyst to jatropha residue and nitrogen flow rate of 0.5 L/min resulted in bio-oil with the high aromatic hydrocarbons of more than 89%. The received aromatic hydrocarbon compounds consisted of naphthalene, benzene, toluene, indene and pyrene, etc. which were a requirement for a high quality fuel. On the other hand, low quality bio-oil without or with a little amount of aromatic hydrocarbon compounds were obtained from pyrolysis without catalyst.สาระสังเขป: งานวิจัยนี้ ได้สังเคราะห์สารเร่งปฏิกิริยา 2 กลุ่ม โดยใช้วัสดุรองรับต่างชนิดกัน คือ อะลูมินา และสารอะลูมินา-ซิลิกาที่มีโครงสร้างซีโอไลต์ เพื่อผลิตน้ำมันชีวภาพจากกระบวนการไพโรไลซิสของกากเมล็ดสบู่ดำ ในการทดลองได้ใช้อุปกรณ์เตาไพโรไลซิสในระดับห้องปฏิบัติการและวิเคราะห์สมบัติของแก๊สและน้ำมันที่ได้ด้วย GC-MS โดยศึกษาผลของชนิดสารเร่งปฏิกิริยา, สัดส่วนปริมาณสารเร่งปฏิกิริยา และการควบคุมบรรยากาศในเตาไพโรโลซิส ต่อคุณสมบัติของน้ำมันชีวภาพ. จากผลการทดลอง พบว่า การเลือกใช้สารเร่งปฏิกิริยาที่ใช้วัสดุรองรับต่างกัน มีผลทำให้คุณภาพของน้ำมันที่ได้ต่างกันด้วย โดยสารเร่งปฏิกิริยาที่ใช้วัสดุรองรับกลุ่มซีโอไลต์ สามารถผลิตน้ำมันชีวภาพที่มีคุณสมบัติที่ดีกว่าสารเร่งปฏิกิริยาที่ใช้วัสดุรองรับกลุ่มอะลูมินา โดยซีโอไลต์ที่นำมาใช้เป็นวัสดุรองรับควรมีอัตราส่วนระหว่าง SiO2/Al2O3 ในช่วง 30-37 โมลต่อโมล การเคลือบโลหะ Cu, Zn, Ni และ Pd วัสดุรองรับอะลูมินา ไม่แสดงผลอย่างเด่นชัดในการเพิ่มประสิทธิภาพของสารเร่งปฏิกิริยา ส่วนการเคลือบโลหะ Pd และ Pt บนวัสดุรองรับซีโอไลต์ที่มีอัตราส่วนระหว่าง SiO2/Al2O3 เท่ากับ 37 โมลต่อโมล น้ำมันชีวภาพที่ผลิตได้มีปริมาณสารกลุ่ม Aromatic Hydrocarbons ต่ำกว่า 35% ซึ่งเป็นปริมาณที่ต่ำกว่าเมื่อเทียบกับการไม่เคลือบโลหะ แต่ผ่านการ heat treatment ของเหลวที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิสประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นของเหลวข้นดำ และส่วนที่เป็นของเหลวสีน้ำตาลอ่อน ในส่วนของเหลวข้นดำ มีองค์ประกอบของ Aromatic Hydrocarbons, Phenols, Fatty acids, Alcohols/Ketones/Ethers, N-heterocycles, N-nonheterocycles เป็นต้น. ส่วนองค์ประกอบที่พบในส่วนของเหลวสีน้ำตาลอ่อน คือ สารละลายกรดและสารละลายกลุ่มออกไซด์และไนโตรเจน เป็นต้น น้ำมันชีวภาพที่ผลิตจากการใช้สารเร่งปฏิกิริยากลุ่มซีโอไลต์ สัดส่วนสารเร่งต่อกากเมล็ดสบู่ดำเท่ากับ 1:1 และใช้อัตราการไหลของแก๊สไนโตรเจน ประมาณ 0.5 ลิตร/นาที พบว่า มีองค์ประกอบของ Aromatic Hydrocarbons ในสัดส่วนที่สูงมากกว่า 89% ประกอบไปด้วย Naphthalene, Benzene, Toluene, Indene และ Pyrene เป็นต้น ซึ่งเป็นสารที่มีความต้องการสำหรับการใช้งานเป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพสูง ส่วนน้ำมันที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิส โดยไม่ใช้สารเร่งปฏิกิริยา มีคุณภาพต่ำ ไม่พบสารกลุ่ม Aromatic Hydrocarbons ในองค์ประกอบ หรือพบในปริมาณน้อยมาก.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen บาร์โค้ด
Intellectual Property
Not For Loan 2022-06-17 IP00035

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300