อนุสิทธิบัตรเรื่อง : พันธุ์ไผ่ที่มีpurineต่ำหรือกรรมวิธีในการผลิตไผ่ที่มีpurineต่ำ (2557) = Research and development and promotion of commercial cultivation of sweet bamboo / Sayan Tanpanich...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chindachia, Rewat | Doungsa, Wisen | Kaewari, Pongsak | Kavilavas, Prayut | Keawdoung, Montree | Niwasprakit, Cholticha | Panyadee, Suwadee | Sasomsub, Wantana | Tanpanich, Sayan | Wongsusjanan, Surasit | มนตรี แก้วดวง | พงษ์ศักดิ์ แก้วศรี | ประยุทธ กาวิละเวส | เรวัตร จินดาเจี่ย | วิเซ็น ดวงสา | สายันต์ ตันพานิช | ชลธิชา นิวาสประกฤติ | สุวดี ปัญญาดี | สุรสิทธิ์ วงษ์สัจจานันท์ | วันทนา สะสมทรัพย์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 53-02, Sub. Proj. no. 3ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2015 รายละเอียดตัวเล่ม: 61 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง : การวิจัยและพัฒนาและส่งเสริมการปลูกไผ่หวานเป็นการค้า | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี : 1.สายพันธุ์ไผ่หวานที่เหมาะสม 2.สายพันธุ์ที่มี purine ต่ำ 3.ผลิตภัณฑ์จากต้นและหน่อ การนำไปต่อยอด : นำสายพันธุ์ดีไปปลูก ผลิตภัณฑ์จากต้นและหน่อ (เกษตรกรและผู้สนใจ) ปี 2557หัวเรื่อง: Bamboo | Bambusa sp | Dendrocalamus sp | Sweet bamboo shootสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: The research and development on cultivation of sweet bamboo shoot for commercial purpose was studied and a field study was conducted at Lamtakhong Research Station with a collection of 19 varieties in Thailand. Most of these varieties were of Genus Bambusa sp. and Dendrocalamus sp. The height of bamboo tree and the weight of bamboo shoot was observed, ranging from 3-16 m and 100-1,000 g, respectively and were ready for harvest at 18-24 months upon each variety. Among 19 varieties, the bamboo shoot "Pai Bong Waan LTK" was found to have the antioxidant nutrition and Purine lower than 50 mg/kg that would not have any affect on Gout patients when compared to "Pai Lieng from Wang" and "Pai Zang" which were higher than the maximum standard. The results from taste satisfaction revealed that longer boiling time decreased the sweetness and bitterness and made bamboo tough while boiling time longer than 15 minutes were found to be unsatisfied. Therefore, "Pai Bong Waan LTK", "Pai Bong Waan from Praloh", "Pai Waan from Dansai", "Pai Waan from Chiangmai", "Pai Waan from Nongdon No Yai", and "Pai Mun" should be cooked no longer than 15 mins while cooking time of "Pai Gim-Sung", "Pai Tong Sriprachin", "Pai Yok", and "Pai Zang Mon" were 15-20 mins, and "Pai Lieng Tawai", "Pai Waan Sritong", "Pai Lieng from Wang and Rai", and "Pai Pakking" should be cooked longer than 20 mins.สาระสังเขป: ไผ่หวานจากทั่วประเทศ เพื่อนำมาขยายพันธุ์และลงแปลงปลูกที่สถานีวิจัยลำตะคอง สำหรับเป็นจุดสาธิตและเรียนรู้การปลูกไผ่หวานเป็นการค้า จากการศึกษา พบว่า รวบรวมชนิดของไผ่หวานไว้ 19 สายพันธุ์ ส่วนใหญ่อยู่ในสกุล Bambusa sp. และ Dendrocalamus sp. ไผ่มีความสูงเมื่อโตเต็มที่อยู่ในช่วง 3-16 เมตร น้ำหนักหน่อ 100-1,000 กรัม และมีอายุการเริ่มให้ผลผลิต 18-24 เดือน ขึ้นอยู่กับชนิดของพันธุ์ไผ่ หน่อไผ่บงหวาน สลค. มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ และปริมาณพิวรีนของหน่อไผ่หวานทั้ง 19 ชนิด มีค่าต่ำกว่า 50 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งถือได้ว่าไม่มีผลต่อผู้เป็นโรคเกาต์ ยกเว้นไผ่เลี้ยง ต.แวง และไผ่ซางหวาน มีค่าสูงกว่าเกณฑ์กำหนด จากผลของความพึงพอใจของผู้บริโภคที่ทานหน่อไผ่ พบว่า ระยะเวลาในการต้มไผ่หวานมีผลต่อความกรอบ, ความหวาน และความขม มีค่าลดลง ส่วนเสี้ยนมีแนวโน้มคงที่ไม่เปลี่ยนตามระยะเวลาในการต้ม และการต้มที่เกิน 15 นาที มีผลทำให้ความชอบโดยรวมลดลง หน่อไผ่ที่ควรต้มไม่เกิน 15 นาที ได้แก่ หน่อไผ่บงหวาน สลค., หน่อไผ่บงหวาน ต.ปลาโหล, หน่อไผ่หวานด่านซ้าย, หน่อไผ่หวานเชียงใหม่, หน่อไผ่หวานหนองโดนหน่อใหญ่ และหน่อไผ่มัน ส่วนหน่อไผ่ที่ควรต้ม 15-20 นาที ได้แก่ หน่อไผ่กิมซุ่ง, หน่อไผ่ตงศรีปราจีน, หน่อไผ่หยก, หน่อไผ่ซางหม่นและหน่อไผ่ที่ควรต้ม 20 นาที ขึ้นไป ได้แก่ หน่อไผ่เลี้ยงทะวาย, หน่อไผ่หวานสีทอง, หน่อไผ่เลี้ยง ต.แวง, หน่อไผ่เลี้ยง ต.ไร่ และไผ่ปักกิ่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
Intellectual Property
Available 2022-06-13 IP00022
Technical Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2015/1561
Technical Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2015/1561-2
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
อนุสิทธิบัตรเรื่อง : ขบวนการผลิตแกงผักหวานป่าสำเร็จรูป = สิทธิบัตรเลขที่ : 1101001111 / อนุสิทธิบัตรเรื่อง : ขบวนการผลิตแกงผักหวานป่าสำเร็จรูป = สิทธิบัตรเลขที่ : 1101001111 / อนุสิทธิบัตรเรื่อง : พันธุ์ไผ่ที่มีpurineต่ำหรือกรรมวิธีในการผลิตไผ่ที่มีpurineต่ำ (2557) = Research and development and promotion of commercial cultivation of sweet bamboo / อนุสิทธิบัตรเรื่อง : พันธุ์ไผ่ที่มีpurineต่ำหรือกรรมวิธีในการผลิตไผ่ที่มีpurineต่ำ (2557) = Research and development and promotion of commercial cultivation of sweet bamboo / การพัฒนาสายพันธุ์ การเขตกรรมและส่งเสริมการปลูกต้นดอกพระจันทร์ (Ipomoea alba) เป็นการค้า = varietals development, cultural practice and promotion of commercial cultivation of moonflower plant (Ipomoea dlba) / การพัฒนาสายพันธุ์ การเขตกรรมและส่งเสริมการปลูกต้นดอกพระจันทร์ (Ipomoea alba) เป็นการค้า = varietals development, cultural practice and promotion of commercial cultivation of moonflower plant (Ipomoea dlba) / การพัฒนาการผลิตผักอินทรีย์บนพื้นฐานของการปลูกเชิงระบบบนพื้นที่จำกัด = development of organic vegetable production based on multiple cropping systems in limited space /

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300