อนุสิทธิบัตรเรื่อง : ขบวนการผลิตแกงผักหวานป่าสำเร็จรูป = สิทธิบัตรเลขที่ : 1101001111 / Rewat Chindachia...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Amprayn, Khanok-on | Chindachia, Rewat | Doungsa, Wisen | Kaewsri, Pongsak | Kavilavas, Prayut | Keawdoung, Montree | Niwasprakit, Cholticha | Panyadee, Suwadee | Tanpanich, Sayan | Wongsusjanan, Surasit | เรวัตร จินดาเจี่ย | สายันต์ ตันพานิช | มนตรีแก้วดวง | ประยุทธ กาวิละเวส | กนกอร อัมพรายน์ | ชลธชาิ นิวาสประกฤต | สุรสิทธิ์ วงษ์สัจจานันท์ | วิเซ็น ดวงสา | พงษ์ศักดิ์ แก้วศรี | สุวดี ปัญญาดี | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 53-02, Sub. Proj. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2015 รายละเอียดตัวเล่ม: ง, 36 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการวิจัยเรื่อง : การวิจัยพัฒนาและส่งเสริมระบบการปลูกพืชโดยมีผักหวานป่าเป็นพืชหลัก | ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี : 1.เทคโนโลยีระบบการปลูกผักหวานป่าร่วมกับพืชชนิดอื่น 2.ผลิตภัณฑ์แกงผักหวานป่าสำเร็จรูปและชาผักหวานป่า การนำไปต่อยอด : ดำเนินวิธีการปลูกผักหวานป่าร่วมกับพืชชนิดอื่นในระบบวนเกษตร (เกษตรกรผู้ปลูกผักหวานป่า/กลุ่มผู้ผลิตภัณฑ์จากผักหวานป่า) ปี 2557หัวเรื่อง: Cropping systems | Melientha suavis | Pak Waan Paสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: The research and development of "Pak Waan Pa" (Melientha suavis Pierre) had objectives to conduct an experiment in using Pak Waan Pa as a dominant tree in an integrated farming system and promote alternate husbandry among farmers in order to increase their incomes. The result revealed that "Pak Waan Pa" had the characteristic of parasitic-root plant, especially for legume such as Agasta, climbing wattle, and tamarind etc. Furthermore, the beneficial symbiotic relationship between root of "Pak Waan Pa" and Acetobacter diazotrophicus, Pseudomonas fluorescens, rhizosphere bacterium isolation JR43, and KR32 were detected. The result of fertilizer applications upon period and thier types revealed that using cow manure compost at 1.88 kg/tree mixed with synthesized fertilizer (15-15- 15) at 93.8 g/tree every 3 months caused the best growth rate of plant height, tree perimeter, shrub volume, and weight of plant shoot at 118.89 cm, 16.10 cm, 0.77 m2 , and 290.80 kg/rai, respectively. Growing by plant cutting was found to give the earliest yield than seedling at 3 years after cultivation and the breakeven point was 4 years, while seedling was 4 and 5 years. Moreover, an intercropping with cockroach berry and banana tree could increase more income to farmers at the first year of farming cultivation. Therefore, it is recommended that "Pak Waan Pa"should be planted using legume group as a host plant and intercropped with other crops such as banana, cockroach berry and vegetables in order to increase more income to farmers during pre-harvesting of "Pak Wann Pa".สาระสังเขป: โครงการการวิจัย พัฒนาและส่งเสริมระบบการปลูกพืชโดยมีผักหวานป่าเป็นพืชหลักมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปลูกผักหวานป่าแบบเกษตรผสมผสาน และส่งเสริมระบบการปลูก ผักหวานป่าให้แก่เกษตรกรสําหรับเป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพและสร้างรายได้ให้กับเกษตร โดยผลของการศึกษา พบว่า ผักหวานป่าเป็นพืชมีคุณสมบัติรากเบียน โดยเฉพาะกับพืชตระกูลถั่ว เช่น แคบ้าน, ชะอม และมะขาม เป็นต้น รวมไปถึงในดินยังมีจุลินทีย์บางชนิดที่ส่งเสริมการเกิดการเบียน ของรากผักหวานป่าได้เช่น Acetobacter diazotrophicus, Pseudomonas fluorescens, แบคทีเรียรอบรากพืช ไอโซเลต JR43 และแบคทีเรียรอบรากพืช ไอโซเลต KR32. การศึกษารอบการใส่ปุ๋ยและชนิดของปุ๋ยที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตและผลผลิตของ ผักหวานป่า พบว่า การใส่ปุ๋ยมูลโคนมอัตรา 1.88 กิโลกรัม/ต้นร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี 15-15-15 อัตรา 93.8 กรัม/ต้นทุกๆ 3 เดือน ทําให้ผักหวานป่ามีความสูง, เส้นรอบวงโคนต้น, ปริมาตรของทรงพุ่ม และน้ําหนักยอดของผักหวานป่ามากที่สุด คือ 118.89 เซนติเมตร, 16.10 เซนติเมตร 0.77 ลูกบาศก์- เมตร และ 290.80 กิโลกรัมต่อไร่ตามลําดับ. การปลูกผักหวานป่าจากกิ่งตอนสามารถให้ยอดได้เร็วกว่าจากต้นเพาะเมล็ด โดยให้ยอดในปี ที่ 3 และมีจุดคุ้มทุนในปีที่ 4 หลังปลูก ส่วนการปลูกแบบเพาะเมล็ด ให้ยอดในปีที่ 4 และมีจุดคุ้มทุน ในปีที่ 5 และการนํามะเขือเปราะและกล้วยน้ําหว้ามาปลูกร่วมกับผักหวานป่า พบว่า ทําให้เกษตรกร มีรายได้จากระบบการปลูกผักหวานป่าตั้งแต่ปีแรกของการปลูก. ดังนั้น การปลูกผักหวานป่าที่เหมาะสมควรเลือกพืชพี่เลี้ยงเป็นพืชตระกูลถั่วชนิดไม้ต้น และ ปลูกพืชแซมเป็นผักที่สร้างรายได้เช่น กล้วย, มะเขือเปราะ และพืชผักอื่นๆ ทําให้เกษตรกรมีรายได้ และไม่ประสบปัญหาการขาดทุนเหมือนกับการปลูกผักหวานป่าเพียงอย่างเดียว.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
Intellectual Property
Available 2022-06-13 IP00021
Technical Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2015/1560
Technical Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2015/1560-2
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
อนุสิทธิบัตรเรื่อง : การเตรียมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการลดปริมาณและค่าความเป็นพิษของสารผสมคาร์เบนดาซิม (Carbendazim)และคาร์โบฟูแรน (Carbofuran) สำหรับสวนส้มที่ปลูกแบบยกร่อง อนุสิทธิบัตรเรื่อง : เครื่องบำบัดสารเคมีการเกษตรตกค้างบริเวณร่องน้ำโดยใช้ถังปฏิกิริยาแบบเติมอากาศที่ใช้กลุ่มแบคทีเรียที่คัดแยกได้จากห้องปฏิบัติการ = สิทธิบัตรเลขที่ : 1001001149 สิทธิบัตรเลขที่ :1001001151 / การวิจัยและพัฒนาและส่งเสริมการปลูกผักกูดเป็นการค้า = research development and promotion of commercial cultivation of edible fern / การวิจัยและพัฒนาและส่งเสริมการปลูกผักกูดเป็นการค้า = research development and promotion of commercial cultivation of edible fern / อนุสิทธิบัตรเรื่อง : ขบวนการผลิตแกงผักหวานป่าสำเร็จรูป = สิทธิบัตรเลขที่ : 1101001111 / อนุสิทธิบัตรเรื่อง : ขบวนการผลิตแกงผักหวานป่าสำเร็จรูป = สิทธิบัตรเลขที่ : 1101001111 / อนุสิทธิบัตรเรื่อง : พันธุ์ไผ่ที่มีpurineต่ำหรือกรรมวิธีในการผลิตไผ่ที่มีpurineต่ำ (2557) = Research and development and promotion of commercial cultivation of sweet bamboo / อนุสิทธิบัตรเรื่อง : พันธุ์ไผ่ที่มีpurineต่ำหรือกรรมวิธีในการผลิตไผ่ที่มีpurineต่ำ (2557) = Research and development and promotion of commercial cultivation of sweet bamboo /

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300