การวิจัยและพัฒนาและส่งเสริมการปลูกผักกูดเป็นการค้า = research development and promotion of commercial cultivation of edible fern / Montree Keawdoung...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chitta Sartpetch | Cholticha Niwasprakit | Montree Keawdoung | Prayut Kavilavas | Rewat Chindachia | Sayan Tanchpanich | Soravit Jamjumroon | Supatra Paemvaree | Surasit Wongsusjanan | Wisen Doungsa | เรวัตร จินดาเจี่ย | จิตตา สาตร์เพ็ชร์ | ชลธิชา นิวาสประกฤติ | ประยุทธ กาวิละเวส | พงษ์ศักดิ์ แก้วศรี | วิเซ็น ดวงสา | สรวิศ แจ่มจำรูญ | สายันต์ ตันพานิช | สุพัตรา เปี่ยมวารี | สุรสิทธิ์ วงษ์สัจจานันท์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 53-02/Sub. Proj. no. 1 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2015 รายละเอียดตัวเล่ม: 46 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาและส่งเสริมการปลูกผักกูดเป็นการค้าหัวเรื่อง: Cropping systems | Diplazium esculentum | Phak khutสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Two cropping systems of "Phak khut" (edible fern), Diplazium esculentum were investigated in this study: a shade house plant and banana tree intercropping in order to determine the proper culture system in a commercial way for "Phak khut". The results showed that the growth and yield of "Phak khut" cultivated in a shade house plant were higher than outdoor planting at the shading rate of 0, 50, 60, 70 and 80% that gave the yield (young fronds) at 69.15, 232.42, 358.80, 327.16 and 344.51 kg/rai/month. "Phak khut" planted with banana tree intercropping were harvested at 6 months after cultivation, at 180.71 cm, 143.43 cm high, 143.43 cm in diameter of shrub, 9.57 mature fronds, and 114.58-171.78 kg/rai/month of yield or young fronds. The planting media that had an effect on growth rate of "Phak khut" were determined. It revealed that sand mixed with paddy husk (T6) was the best plnting medium at the yield of 331.25 kg/rai/month, followed by sand (T2), paddy husk(T3), soil+sand+paddy husk(T7), soil+sand(T4), soil+paddy husk(T5) at the yield of 299.68, 275.66, 217.50, 214.99 and 208.37 kg/rai/month, respectively. The lowest yield was obtained when cultivating in soil (T1) at 155.53 kg/rai/month. The results of using organic and synthesized fertilizers were studied on young frond of "Phak khut" However, there was no statistically significant difference of any fertilizers. Cow manure compost used at 6,000 kg/rai gave the highest yield of young frond at 399.32 kg/rai/month, followed by synthesized fertilizer (25-7-7) at the rate of 50 kg/rai, cow manure compost at the rate of 1,500, and 3,000 kg/rai with the yield of young frond at 384.39, 354.63 and 317.13 kg/rai/month.สาระสังเขป: จากการศึกษาระบบการปลูกผักกูดที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต พบว่าสามารถทำได้ 2 ระบบ คือ การปลูกในโรงเรือนภายใต้การพรางแสง และปลูกร่วมกับการปลูกกล้วย ดังนี้ การปลูกผักกูดภายใต้ตาข่ายการพรางแสง มีการเจริญเติบโตและผลผลิตสูงกว่าการปลูกในสภาพกลางแจ้ง คือ การพรางแสงที่ 0, 50, 60, 70 และ 80 เปอร์เซ็นต์ ให้ผลผลิต 69.15, 232.42, 358.80, 327.16 และ 344.51 กิโลกรัม/ไร่/เดือน การปลูกผักกูดร่วมกับการปลูกกล้วย พบว่า ที่อายุ 6 เดือนหลังการปลูก มีการเจริญเติบโตทางด้านความสูง 180.71เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางทรงพุ่มต้น 143.43 เซนติเมตร, จำนวนใบ 9.57 และให้ผลผลิตเฉลี่ย 114.58-171.78 กิโลกรัม/ไร่/เดือน ผลของวัสดุปลูกต่อการให้ผลผลิตผักกูด พบว่า มีความแตกต่างกัน วัสดุปลูกที่ให้ผลผลิต สูงสุด คือ ทรายละเอียดผสมแกลบดิบ (T6) โดยให้ผลผลิตยอดเฉลี่ยเท่ากับ 331.25 กิโลกรัม/ไร่/เดือน, รองลงมา คือ ทรายละเอียด (T2), แกลบดิบ (T3), ดิน+ทรายละเอียด+แกลบดิบ (T7), ดิน+ทรายละเอียด (T4) และดิน+แกลบดิบ (T5) ให้ผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 299.68, 275.66, 217.50, 214.99 และ 208.37 กิโลกรัม/ไร่/เดือน ตามลำดับ และการปลูกในดิน (T1) ให้ผลผลิตยอดต่ำสุดเท่ากับ 155.53 กิโลกรัม/ไร่/เดือน ผลของการใส่ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีต่อการให้ผลผลิตยอดผักกูด พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่การใส่ปุ๋ยหมักมูลโคที่อัตรา 6,000 กิโลกรัม/ไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 399.32 กิโลกรัม/ไร่/เดือน, รองลงมา คือ การใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 25-7-7 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่, ปุ๋ยหมักมูลโคที่อัตรา 1,500 กิโลกรัม/ไร่ และปุ๋ยหมักมูลโคที่อัตรา 3,000 กิโลกรัม/ไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 384.39, 354.63 และ 317.13 กิโลกรัม/ไร่/เดือน ตามลำดับ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number Unit สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
C.1 Available 2018-08-31 1 RP2015/1554
General Book
วว. เทคโนธานี
C.2 Available 2018-08-31 2 RP2015/1554-2
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
ไม่มีภาพปก
อนุสิทธิบัตรเรื่อง : การเตรียมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการลดปริมาณและค่าความเป็นพิษของสารผสมคาร์เบนดาซิม (Carbendazim)และคาร์โบฟูแรน (Carbofuran) สำหรับสวนส้มที่ปลูกแบบยกร่อง อนุสิทธิบัตรเรื่อง : เครื่องบำบัดสารเคมีการเกษตรตกค้างบริเวณร่องน้ำโดยใช้ถังปฏิกิริยาแบบเติมอากาศที่ใช้กลุ่มแบคทีเรียที่คัดแยกได้จากห้องปฏิบัติการ = สิทธิบัตรเลขที่ : 1001001149 สิทธิบัตรเลขที่ :1001001151 / อนุสิทธิบัตรเรื่อง : การเตรียมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการลดปริมาณและค่าความเป็นพิษของสารผสมคาร์เบนดาซิม (Carbendazim)และคาร์โบฟูแรน (Carbofuran) สำหรับสวนส้มที่ปลูกแบบยกร่อง อนุสิทธิบัตรเรื่อง : เครื่องบำบัดสารเคมีการเกษตรตกค้างบริเวณร่องน้ำโดยใช้ถังปฏิกิริยาแบบเติมอากาศที่ใช้กลุ่มแบคทีเรียที่คัดแยกได้จากห้องปฏิบัติการ = สิทธิบัตรเลขที่ : 1001001149 สิทธิบัตรเลขที่ :1001001151 / การวิจัยและพัฒนาและส่งเสริมการปลูกผักกูดเป็นการค้า = research development and promotion of commercial cultivation of edible fern / การวิจัยและพัฒนาและส่งเสริมการปลูกผักกูดเป็นการค้า = research development and promotion of commercial cultivation of edible fern / อนุสิทธิบัตรเรื่อง : ขบวนการผลิตแกงผักหวานป่าสำเร็จรูป = สิทธิบัตรเลขที่ : 1101001111 / อนุสิทธิบัตรเรื่อง : ขบวนการผลิตแกงผักหวานป่าสำเร็จรูป = สิทธิบัตรเลขที่ : 1101001111 / อนุสิทธิบัตรเรื่อง : พันธุ์ไผ่ที่มีpurineต่ำหรือกรรมวิธีในการผลิตไผ่ที่มีpurineต่ำ (2557) = Research and development and promotion of commercial cultivation of sweet bamboo /

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300