การวิจัยและพัฒนาการใช้สารพรีไบโอติกในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกร = research and development on prebiotic for swine production / Premsuda Saman...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Artjariyasripong, Suparp | Buaban, Wannaluk | Chaiongkarn, Achara | Chatanon, Lawan | Fungsin, Bundit | Moonmangmee, Somporn | Poonsiri, Chantra | Saman, Premsuda | อัจฉรา ไชยองค์การ | ลาวัลย์ ชตานนท์ | วรรณลักษณ์ บัวบาน | บัณฑิต ฝั่งสินธุ์ | ฉันทรา พูนศิริ | สมพร มูลมั่งมี | เปรมสุดา สมาน | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 53-01 , Sub Proj. no. 4 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2014 รายละเอียดตัวเล่ม: ฉ, 46 p. : tables, ill. (some col.) ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาการใช้สารพรีไบโอติกในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรหัวเรื่อง: Aspergillus oryzae | Aspergillus usamii | Fungi | Isomalto-oligosaccharides | Isomalto-oligosaccharides | Prebiotics | Swine -- Feeding and feeds | เชื้อรา | พรีไบโอติก | สุกร -- การเลี้ยง | อาหารสัตว์สารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: This study aimed to evaluate the potential use of prebiotic isomaltooligosaccharides (IMO) for the swine production. Seventeen fungal strains were investigated for glucosidase and transglucosidase production. These enzymes can synthesize isomalto-oligosaccharides from liquid starch. Three transglucosidase producing strains, Aspergillus usamii TISTR 3140, Aspergillus oryzae TISTR 3102 and Aspergillus oryzae TISTR 3222 were selected and used in solid-stated fermentation (SSF). The maximum value of α-glucosidase was obtained in SSF with A. oryzae TISTR 3222, followed by SSF with A. oryzae TISTR 3102 and SSF with A. usamii TISTR 3140 respectively. The highest concentration of isomalto-oligosaccharides (isomaltose, panose and isomaltotriose) was also observed in SSF with A. oryzae TISTR 3222. Thus, SSF with A. oryzae TISTR 3222 was selected and used in isomaltooligosaccharide production. After appropriate fermentation, mashing was used to hydrolyse the remaining starch in rice slurry. The subsequent rice syrup contained higher amounts of isomaltose, panose and isomaltotriose with the values of 44, 10 and 7 g/l respectively. This IMO syrup could enhance the growth of Bifidobacterium animalis while the growth of Eschericia coli was reduced. The effect of IMO on swine growth was also studied. Results showed that IMO syrup could improve the body weight gain at the early stage of growth (4-6 weeks). Besides, IMO syrup could enhance the growth of lactic acid bacteria in the intestinal content while the number of coliform and E. coli were inhibited. IMO syrup could be pasteurised and maintained at 0-4°C more than 7 months.สาระสังเขป: การเลี้ยงสุกร โดยได้ศึกษาการผลิต a-glucosidase และ transglucosidase ในเชื้อรา 17 สายพันธุ์ พบว่ามีสามสายพันธุ์ที่สามารถสร้าง transglucosidase ได้แก่ Aspergillus usamii TISTR 3140, Aspergillus oryzae TISTR 3102 และ Aspergillus oryzae TISTR 3222 เชื้อราทั้งสามสายพันธุ์ได้นำไปทดสอบในกระบวนการหมักแบบแห้งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเอนไซม์และผลิตภัณฑ์ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าในกระบวนการหมักแบบแห้งด้วย A. oryzae TISTR 3222 ให้ปริมาณ α-glucosidase สูงที่สุด รองลงมา คือ การหมักด้วย A. oryzae TISTR 3102 และ A. usamii TISTR 3140 ตามลำดับ. นอกจากนี้ การหมักแบบแห้งด้วย A. oryzae TISTR 3222 ให้ปริมาณของ isomalto-oligosaccharides (isomaltose, panose และ isomaltotriose) สูงที่สุด, ดังนั้น จึงได้เลือกการหมักแบบแห้งด้วย A. oryzae TISTR 3222 ในการผลิต isomaltooligosaccharides ภายหลังจากดำเนินการหมักแบบแห้งในระยะเวลาที่เหมาะสม ข้าวหมักที่ได้จะนำไปย่อยสลายแป้งที่เหลือ ทำให้มีปริมาณ isomaltose, panose และ isomaltotriose เพิ่มขึ้นโดยมีค่าเท่ากับ 44 กรัม/ลิตร, 10 กรัม/ลิตร และ 7 กรัม/ลิตร ตามลำดับ. สารละลายนี้สามารถช่วยส่งเสริมการเจริญของ Bifidobacterium animalis และยับยั้งการเจริญของ Eschericia coli เมื่อทดสอบเสริมสารละลาย IMO กับลูกสุกรหย่านม พบว่าสารละลาย IMO สามารถช่วยเพิ่มน้ำหนักตัว ของลูกสุกรได้ในช่วงแรกของการเจริญเติบโต (4-6 สัปดาห์) นอกจากนี้สารละลาย IMO มีส่วนช่วยในการเพิ่มจำนวนจุลินทรีย์ lactic acid bacteria และลดจำนวนเชื้อ coliform และ E. coli ในมูลสุกร สารละลาย IMO เมื่อผ่านการฆ่าเชื้อแบบพาสเจอร์ไรซ์และเก็บที่อุณหภูมิ 0-4°ซ. จะสามารถเก็บรักษาได้มากกว่า 7 เดือน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number Unit สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
C.1 Available 2018-08-31 1 RP2014/1550-1
General Book
วว. เทคโนธานี
C.2 Available 2018-08-31 2 RP2014/1550-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300