การวิจัยและพัฒนาการขึ้นรูปฉนวนจากเส้นใยวัสดุเหลือทิ้ง = study and research on insulation casting from agricultural waste fiber / Romanie Wungdeheethum...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Charoenponpithak, Prasong | Jirasuwan, Chunsa | Phromsuwan, Sophon | Soonthornrangson, Wirachai | Thepkhun, Panida | Utistham, Thanes | Wattanathum, Sattha | Wungdheethum, Romanie | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-10, Sub Proj. no. 1 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2014 รายละเอียดตัวเล่ม: จ, 55 p. : tables, col. ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาการขึ้นรูปฉนวนจากเส้นใยวัสดุเหลือทิ้งหัวเรื่อง: Agricultural wastes -- Recycling | Insulator | Recycling (Waste, etc.) | Rice straw | Vetiverสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Insulators fromสาระสังเขป: Insulators from three types of biomasses, namely vetiver, rice straw, recycled paper and waste wood pulp from the pulp mill were made via pulp molding method. By this method, insulators were also added with and without gypsum cement binder. The results indicated that insulator without gypsum cement binder had less average thermal conductivity than that of with binder. Without using gypsum cement binder, the insulator from rice straw showed the highest insulation characteristics, followed by vetiver, recycled paper and waste wood pulp, respectively. Insulator produced from rice straw showed lower thermal conductivity than those from synthetic fiber materials, particularly from gypsum and particle board types, but higher than those from fibre glass and foam types. Moreover, rice straw insulator was promising over synthetic fiber insulator since it was made from natural material having no environmental impact. Thermal conductivity values per density and thermal conductivity were 0.2737 (Watt/m-oK)/(g/cm3) and 0.1536 m2-oK/watt for rice straw, 0.3267 (Watt/moK)/(g/cm3) and 0.1352 m2-oK/watt for vetiver, and 0.3411 (Watt/m-oK)/(gm/cm3) and 0.1060 m2-oK/watt for recycled paper and waste wood pulp.สาระสังเขป: แผ่นฉนวนกันความร้อนที่ผลิตจากวัสดุชีวมวลเหลือทิ้ง 3 ชนิด คือ หญ้าแฝก, ฟางข้าว และเศษเยื่อกระดาษและกระดาษใช้แล้ว ด้วยวิธีพัลพ์โมลดิง (Pulp molding) มีอยู่ 2 แบบ คือ แบบไม่ใช้ตัวประสานและแบบใช้ปูนพลาสเตอร์เป็นตัวประสานการยึดเกาะ. แผ่นฉนวนแบบไม่ใช้ตัวประสานมีคุณสมบัติความเป็นวัสดุฉนวนดีกว่าแผ่นฉนวนแบบใช้ปูนพลาสเตอร์เป็นตัวประสานการยึดเกาะ สำหรับแผ่นฉนวนแบบไม่ใช้ตัวประสานนั้น, แผ่นฉนวนที่ผลิตจากเยื่อฟางข้าวมีคุณสมบัติความเป็น วัสดุฉนวนดี, ตามด้วยหญ้าแฝก, เศษเยื่อกระดาษและกระดาษใช้แล้ว. จากการวัดค่าการนำความร้อนต่อหนึ่งหน่วยความหนาแน่นและค่าการต้านทานความร้อน พบว่า แผ่นฉนวนที่ผลิตจากเยื่อฟางข้าว, หญ้าแฝก และเศษเยื่อกระดาษและกระดาษใช้แล้ว มีค่าการนำความร้อนต่อหนึ่งหน่วยความหนาแน่น 0.2737, 0.3267 และ 0.3411 (วัตต์/เมตร-เคลวิน)/(กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) ตามลำดับ และมีค่าการต้านทานความร้อน 0.1536, 0.1352 และ 0.1060 ตารางเมตร-เคลวิน/วัตต์ ตามลำดับ. เมื่อเปรียบเทียบแผ่นฉนวนที่ผลิตจากเยื่อฟางข้าวกับแผ่นฉนวนที่จำหน่ายในเชิงพาณิชย์แล้วพบว่า แผ่นฉนวนที่ผลิตจากเยื่อฟางข้าวมีค่าการนำความร้อนดีกว่าแผ่นฉนวนประเภทยิปซัมและไม้อัด, แต่เลวกว่าแผ่นฉนวนประเภทใยแก้วและโฟม. อย่างไรก็ตาม แผ่นฉนวนที่ผลิตจากเยื่อฟางข้าวเป็นวัสดุประเภทเส้นใยธรรมชาติที่หาได้ง่ายภายในประเทศ และก่อให้เกิดมลภาวะน้อยกว่า จึงมีความเหมาะสมกว่าแผ่นฉนวนที่ผลิตจากเส้นใยสังเคราะห์.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2014/1536
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2014/1536-2
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
Annual report 2013 : Thailand Institute of Scientific and Technological Research Annual report 2013 : Thailand Institute of Scientific and Technological Research การวิจัยและพัฒนาการขึ้นรูปฉนวนจากเส้นใยวัสดุเหลือทิ้ง = study and research on insulation casting from agricultural waste fiber / การวิจัยและพัฒนาการขึ้นรูปฉนวนจากเส้นใยวัสดุเหลือทิ้ง = study and research on insulation casting from agricultural waste fiber / พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย การวิจัยและพัฒนาการใช้สารพรีไบโอติกในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกร = research and development on prebiotic for swine production / การวิจัยและพัฒนาการใช้สารพรีไบโอติกในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกร = research and development on prebiotic for swine production /

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300