การผลิตสาร 1,3-propanediol (PDO) จากกลีเซอรอลดิบที่เป็นของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล = production of 1,3-propanediol (PDO) using raw glycerol; by product from biodiesel / Anchana Pattanasupong...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Anannukul, Phaisak | Artjariyasripong, Suparp | Bantap, Rattanavadee | Meeploy, Sutthirak | Pattanasupong, Anchana | Sompakdee, Nidtayaporn | Srithongkul, Jirapan | Tungsatitporn, Sirorat | Wangdeetham, Rommanee | ตั้งสถิตพร, ศิโรรัตน์ | บรรทัพ, รัตนาวดี | อัญชนา พัฒนสุพงษ์ | สุทธิรักษ์ มีพลอย | ศรีทองกุล, จิรพันธุ์ | นิตยาพร สมภักดีย์ | รมณีย์ หวังดีธรรม | ไพศักดิ์ อนันต์นุกูล | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 51-05, Sub Proj. no. 5; Rep. no. 1 (Final report) (CONFIDENTIAL)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2013 รายละเอียดตัวเล่ม: จ, 68 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตสาร 1,3-propanediol (PDO) จากกลีเซอรอลดิบที่เป็นของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตไบโอดีเซลหัวเรื่อง: 1,3-Propanediol | Biodegradable plastics | Biodiesel | Bioplastics | Enterobacter radicincitans | Glycerolสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: 1,3-Propanediol (PDO) was produced by Enterobacter radicincitans TISTR 1805 and selected effective strain from waste water of Patum Vegetable oil Company Limited using 5% crude glycerol at 37 ºC during 3 days for PDO fermentation. The PDO yield was 0.33-0.36 mol mol-1 pure glycerol. PDO production was scaled up to 150 L in 300 L pilot scale fermentor in the same condition, the PDO yield was 0.33 mol mol-1 pure glycerol. After that the culture product was passed through purification process by diatomite filtration and fractional distillation at the range of 150-300 ºC, using the pressure of 10 mmHg. The purity of PDO was 98%. Preparation of polypropylene succinate (PPSu) using PDO was carried out by esterification and polycondensation processes. Then, the PPSu was blended with cellulose acetate and casted for bioplastic film. The preliminary result of biodegradation test in compost revealed that this film could be degraded 69-85% within 3 months at 58±2 ºC incubation and non toxicity of residues after degradation on animal testing by Daphnia magnaสาระสังเขป: ศึกษาการบ่มเลี้ยงแบคทีเรียที่มีประสิทธิภาพในการผลิตสารมูลค่าเพิ่ม 1, 3-Propanediol (PDO), โดยบ่มเลี้ยงแบคทีเรียสายพันธุ์ Enterobacter radicincitans TISTR 1805 และแบคทีเรียที่คัดแยกได้จากน้ำทิ้งของบริษัทโรงงานน้ำมันพืชปทุม จำกัด. โดยใช้กลีเซอรอลดิบร้อยละ 5 โดย น้ำหนัก สภาวะควบคุมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส, เป็นเวลา 3 วัน. ซึ่งเป็นสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตสาร PDO ได้ผลผลิตของสาร PDO 0.33-0.36 โมลต่อโมลกลีเซอรอลบริสุทธิ์, ขยายขนาดการบ่มเลี้ยงแบคทีเรียสายพันธุ์ E. radicincitans TISTR 1805 ในถังหมักขนาด 300 ลิตร, ปริมาณอาหารทดสอบ 150 ลิตร ภายใต้สภาวะการบ่มเลี้ยงเดียวกัน ได้ผลผลิตของสาร PDO 0.3 โมลต่อโมลกลีเซอรอลบริสุทธิ์. อาหารทดสอบที่ได้ผ่านกระบวนการทำให้บริสุทธิ์โดยกรองผ่านผงไดอะตอม ไมท์ก่อนนำไปกลั่นลำดับส่วนที่ช่วงอุณหภูมิ 150-300 องศาเซลเซียส, ความดัน 10 มิลลิเมตรปรอท ได้สาร PDO ที่มีความบริสุทธิ์ร้อยละ 98. จากนั้นนำมาสังเคราะห์เป็นสาร Polypropylene succinate (PPSu) ด้วยกระบวนการ Esterification และ Polycondensation, ทำการเติมสาร เซลลูโลสอะซิเตตก่อนนำไปขึ้นรูปเป็นแผ่นโดยวิธี Casting film. แผ่นพลาสติกชีวภาพที่สังเคราะห์ขึ้นสามารถสลายตัวได้ทางชีวภาพเบื้องต้นร้อยละ 69-85 ภายหลังการทดสอบเป็นระยะเวลา 3 เดือน, ที่สภาวะควบคุมอุณหภูมิ 58±2 องศาเซลเซียส และไม่มีความเป็นพิษตกค้างภายหลังทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพ เมื่อทำการทดสอบค่าความเป็นพิษต่อสัตว์ทดสอบโดยใช้ Daphnia magna.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2013/1459

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300