การพัฒนาเพิ่มมูลค่าเงาะในรูปน้ำส้มสายชูหมักและน้ำส้มสายชูพร้อมดื่ม = Development of value added products from rambutan : fermented- and rambutan cider / Lawan Chatanon...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Banjongsinsiri, Panida | Banyaphak, Poonapha | Chatanon, Lawan | Laohakul, Kulnatee | Moonmungmee, Somporn | Palakawong Na Ayudthaya, Susakul | Pathomyothin, Wiwat | Trangwacharakul, Srisak | กุลนที เลาหะกุล | ลาวัลย์ ชตานนท์ | ศรีศักดิ์ ตรังวัชรกุล | ปนิดา บรรจงสินศิริ | ปุณณภา บุญยะภักดิ์ | วิวัธน์ ปฐมโยธิน | สุสกุล ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา | สมพร มูลมั่งมี | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no 53-03, Sub Proj. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2513 รายละเอียดตัวเล่ม: 35 p. : tables, ill. ; 30 ซม.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาเพิ่มมูลค่าเงาะในรูปน้ำส้มสายชูหมักและน้ำส้มสายชูพร้อมดื่มหัวเรื่อง: Acetobacter aceti | Cider | Fermentation | Nephelium lappaceum | Rambutan | Saccharomyces cerevisiae | Vinegarสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access Full-text | Click here to access IP fulltext สาระสังเขป: In order to solve the problem of over-supply and falling price of rambutan, development of fermented vinegar and ready to drink vinegar from this fruit was carried out. Two microbial strains namely The fermentation process of vinegar from rambutan used 2 microbial strains namely Saccharomyces cerevisiae TISTR 5019 and Acetobacter aceti TISTR 103. were used in the fermentation process of vinegar from rambertan. Fresh juice and flesh of rambutan were used as the raw material. At the beginning of the fermentation, S. cerevisiae TISTR 5019 converted sugar content in the raw material to alcohol in 12 hours. After that, alcohol was subsequently oxidized into acetic acid by the action of A. aceti TISTR 103 in 16 hours. The acetic acid yield was 6.5% which is in the range of standard specification. The fermented vinegar obtained was yellow in color, quite clear and scented. The ready to drink fermented vinegar was prepared by diluting the fermented vinegar with honey, fresh rambutan juice and clean water in the suitable ratios. In addition, A. aceti TISTR 103 was preserved in gelatin droplets and kept in plastic straw. This form of the inoculum was proven to be ease in use for fermentation, for farmers and could be applied to various fruits.สาระสังเขป: เพื่อเป็นการแก้ปัญหาผลผลิตเงาะที่ล้นตลาดและราคาตกต่ำ จึงได้ทำการพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำส้มสายชูหมักและน้ำส้มสายชูพร้อมดื่มจากเงาะ กระบวนการผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากเงาะเป็นกระบวนการหมัก โดยอาศัยเชื้อจุลินมทรีย์ 2 สายพันธุ์ คือ Saccharomyces cerevisiae TISTR 5019 และ Acetobacter aceti TISTR 103 เนื้อและน้ำคั้นจากเงาะถูกใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับ การหมัก ในขั้นตอนแรกของกระบวนการหมัก เชื้อยีสต์ S. cerevisiae TISTR 5019 เปลี่ยนน้ำตาลในวัตถุดิบเป็นแอลกอฮอล์ซึ่งจะใช้เวลาการหมัก 12 ชั่วโมง จากนั้น A. aceti TISTR 103 เปลี่ยนแอลกอฮอล์ให้เป็นกรดแอซีติก (acetic acid) ซึ่งขั้นตอนนี้จะใช้เวลา 16 วัน ได้ปริมาณกรดแอซีติก 6.5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน น้ำส้มสายชูหมักที่ได้มีสีเหลือง ค่อนข้างใส มีกลิ่นหอม สำหรับน้ำส้มสายชูพร้อมดื่มจากเงาะ ผลิตโดยเจือจางน้ำส้มสายชูหมักจากเงาะด้วยน้ำผึ้ง, น้ำเงาะสดและ น้ำสะอาด ในอัตราส่วนที่เหมาะสม. นอกจากนี้ ได้ทำการเก็บรักษาเชื้อ A. aceti TISTR 103 ในรูปหยดเม็ดเจลาตินในหลอดกาแฟ ซึ่งเป็นรูปแบบที่ง่ายต่อการนำมาใช้ในการหมักผลิตภัณฑ์ ซึ่งเหมาะกับเกษตรกร และสามารถใช้ได้กับผลไม้หลากหลายชนิด.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2013/1532
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2013/1532-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300