โครงการศึกษาความเป็นไปได้ทางการตลาดการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเงาะ = feasibility study on marketing of rambutan's product process / Kulnatee Laohakul...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Buaban, Suphawadee | Laohakul, Kulnatee | Maneejumras, Patcharee | Visutthipat, Pariyada | กุลนที เลาหะกุล | สุภาวดี บัวบาน | พัชรี มณีจำรัส | ปริยะดา วิสุทธิแพทย์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 53-04, Sub Proj. no. 4 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2013 รายละเอียดตัวเล่ม: ฉ, 128 p. : tables, col. ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: โครงการศึกษาความเป็นไปได้ทางการตลาดการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเงาะหัวเรื่อง: Fruit | Fruit juices | Fruit preservation | Fruit processing | Rambutan | เงาะ | การตลาด | น้ำผลไม้ | ผลไม้ | ผลไม้แช่อิ่มสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The objectives of this research were to perform the pre-feasibility study on marketing of rambutan and demand of rambutan products. The secondary data and surveyed questionnaire were analyzed, then, the conclusion from this study was made about the market of rumbutan and its products. This study was emphasized on the rumbutan and its products. The 3 kinds of rambutan products were as follows : 1. Product from rambutan juice, the market situation was highly demanded because the consumers had tendency to consume the healthy food and beverage from vegetables and fruits. The market had continually expanded several years ago. Particularly, the suppliers anticipated that the food nutrition valuables and benefits from vegetables and fruits, thus the trend of this increased continually. 2. Product from rambutan snack and edible, this market had high competiveness. Most of consumers were children, teenagers and least of adults. The snack and edible had tendency to be expanded. Almost of the suppliers were community enterprises, OTOP and small enterprises which usually produced for saling in terms of souvenirs and refreshment. In terms of preservation, almost of them were domestic products and the suppliers were small and the family industry. The procedure of production was not complicated and raw materials were obtained from the plants of themselves. 3. Product from fiber and flour from rambutan seed, this was the value added from waste materials, alternative choice for the consumers. These products were fewer kinds because this was more complicated to produce than the other two groups as mentioned before. According to the surveyed questioners from the administrative organization of tambon in eastern and southern areas of Thailand, the number of observers was 1,578. Feedback from observers was 357, feedback ratio was 22.62%. Almost of feedback observers required rambutan transformed products as preserved in syrup product by 60.45%, crisp sheet of rambutan by 43.79%, bakery by 24.86%, snack by 22.88%, rambutan seed flavor by 16.67%, vinegar by 8.76%, and product from mixing with meat by 2.82%. The results of this study revealed that the consumers satisfed with rambutan juice, vinegar and crisp sheet of rambutan in high level.สาระสังเขป: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ทางการตลาดเบื้องต้น. การศึกษาประกอบด้วยการศึกษาสถานการณ์การตลาดของเงาะ และการสำรวจความต้องการผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเงาะ, ตลอดจนการทดสอบผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเงาะ. เมื่อนำข้อมูลทุติยภูมิและแบบสำรวจมาวิเคราะห์ประเมินผล ทำให้สรุปผลการศึกษาได้ว่าผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเงาะมีความเป็นไปได้ทางการตลาดในอนาคต, โดยการศึกษาด้านการตลาดแบ่งการวิเคราะห์เป็น 3 กลุ่ม คือ : ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มผลไม้. ตลาดมีการขยายตัวสูง, เนื่องจากผู้บริโภคมีแนวโน้มบริโภค เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจากผักและผลไม้ในอัตราขยายตัวสูงอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประกอบกับผู้ประกอบการเล็งเห็นประโยชน์และคุณค่าทางอาหารที่มีอยู่ในผัก, ผลไม้ จึงทำให้กระแสความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ. ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวและตลาดผลไม้แช่อิ่ม. ตลาดขนมขบเคี้ยวเป็นตลาดที่มีการแข่งขันค่อนข้างรุนแรง, ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเด็กและวัยรุ่นซึ่งมีปริมาณมาก และยังกระจายตัวไปยังกลุ่มคนวัยทำงาน. ตลาดขนมขบเคี้ยวจึงมีแนวโน้มที่สามารถขยายตัวได้อีกมาก โดยผู้ประกอบการส่วนมากเป็นวิสาหกิจชุมชน OTOP และกลุ่มผู้ประกอบการบริษัทขนาดเล็กซึ่งมักจะผลิตเพื่อขายในรูปของของฝาก, เป็นขนมให้ผู้บริโภคซื้อไปรับประทาน. ส่วนผลิตภัณฑ์แช่อิ่ม, ส่วนใหญ่จะเป็น ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นในประเทศ. ผู้ประกอบการรายย่อยที่มีการประกอบกิจการในลักษณะอุตสาหกรรมครอบครัว, ซึ่งมีขั้นตอนการผลิตที่ไม่สลับซับซ้อนมากนัก และใช้วัตถุดิบจากผลผลิตที่ปลูกและเก็บเกี่ยวเอง. ผลิตภัณฑ์จากเส้นใยและแป้งจากเมล็ดผลไม้เป็นการเพิ่มมูลค่าของเหลือทิ้ง, อีกทั้งยังเป็นทางเลือกใหม่ให้ผู้บริโภค. ตลาดผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ยังมีไม่มากเนื่องจากต้องใช้การผลิตที่สลับซับซ้อนกว่าผลิตภัณฑ์ในสองกลุ่มแรก. ความต้องการผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเงาะ, ผลการสำรวจความต้องการผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเงาะ, จากผู้ตอบแบบสอบถามจากองค์กรบริหารส่วนตำบลในพื้นที่ภาคตะวันออก และภาคใต้ จำนวน 1,578 ราย. มีผู้ส่งแบบสอบถามกลับมาจำนวนทั้งสิ้น 357 ราย, คิดเป็นร้อยละ 22.62. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ต้องการให้มีการแปรรูปเงาะเป็นเนื้อเงาะแช่อิ่มอบแห้งมากที่สุด ร้อยละ 60.45, รองลงมาเป็นเนื้อเงาะแผ่นกรอบ ร้อยละ 43.79, น้ำเงาะเข้มข้น ร้อยละ 40.96, ผลิตภัณฑ์ขนมอบและเบเกอรี ร้อยละ 24.86, ผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยว ร้อยละ 22.88, เมล็ดเงาะเคลือบปรุงรส ร้อยละ 16.67, น้ำส้มสายชูหมัก ร้อยละ 8.76 และผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์ ร้อยละ 2.82 ตามลำดับ. ทั้งนี้ ได้ทำการทดสอบผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเงาะ ผลการศึกษา พบว่า ผู้บริโภคมีความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์น้ำเงาะพร้อมดื่ม, น้ำส้มสายชูพร้อมดื่มจากเงาะ, เนื้อเงาะแผ่นกรอบ, เงาะแช่อิ่มในน้ำเสาวรส, ผลิตภัณฑ์น้ำสลัดจากแป้งเมล็ดเงาะ และผลิตภัณฑ์ไอศกรีมที่มีส่วนผสมของเส้นใยอาหารจากเปลือกเงาะในระดับมาก.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2013/1518
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2013/1518-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300