การวิจัยและพัฒนา Bio-fumigant เพื่อควบคุมโรคและแมลงในผลไม้สดหลังการเก็บเกี่ยว = research and development of bio-fumigant to control postharvest diseases and insects of tropical fruits / Kanungnid Busarakam...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Busarakam, Kanungnid | Chatanon, Lawan | Kongchinda, Papitchaya | Neamprem, Sodsri | Pemvaree, Supatra | Suwanagul, Anawat | สดศรี เนียมเปรม | สุพัตรา เปี่ยมวารี | ปพิชญา กองจินดา | ลาวัลย์ ชตานนท์ | บุษราคำ, คนึงนิจ | อนวัช สุวรรณกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-08, Sub Proj. no. 2ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2013 รายละเอียดตัวเล่ม: ฉ, 81 p. : tables, col. ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนา Bio-fumigant เพื่อควบคุมโรคและแมลงในผลไม้สดหลังการเก็บเกี่ยวหัวเรื่อง: Alternaria alternata | Antifungal activities | Biofumigation | Colletotrichum gloeosporioides | Curvularia clavata | Fruit | Fungi | Penicillium digitatum | Phomopsis sp | Postharvest diseases | Postharvest treatment | Volatile organic compoundsสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The objective of this study was to use volatile mstter-producing fungi to control postharvest diseases of horticultural produce in order to avoid direct contact between produce and fungi. In this study, 46, 65, 152, and 24 endophytic fungal strains were isolated from plant samples of 51, 9, 10, and 3 species collected from Lamtakhong Research Station (Nakhon Ratchasima), Rubber Research Center (Krabi), Horticultural Research Center (Krabi) and Peninsular Botanical Garden (Trang), respectively. All isolates were screened for their production of volatile organic compounds (VOCs). Antifungal activities were then tested against 5 pathogenic fungi: Alternaria alternata, Curvularia clavata, Colletotrichum gloeosporioides, Penicillium digitatum and Phomopsis sp. The results showed that 11 isolates produced antifungal volatiles that inhibited growth of fungus on PDA medium in 3-section Petri dishes. The inhibition percentages of the pathogen growth by isolates LK6-3, LK7-6, KB-H3-4, KB-H5-6, TR-B3-8, LK-51A-3, KB-R10-2, KB-H10-8, LK-51B-1, LK51A-4 and KBH3- 6 were 22, 19.6, 19.2, 17.5, 16.2, 15.9, 14.8, 10.3, 9.7, 6.3 and 5, respectively. Chemical composition of selected antifungal volatiles was analyzed by GC-MS and confirmed by comparison of mass spectra data with the NIST database. The mixture of VOCs consisted primarily of acids, esters, alcohols, ketones and lipids.สาระสังเขป: วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อที่จะใช้จุลินทรีย์ในกลุ่มนี้เป็นราเอนโดไฟต์ (endophytic fungi) ที่แยกได้จากพืชโดยวิธีฆ่าเชื้อที่ผิวหน้า. การทดลองครั้งนี้แยกราเอนโดไฟต์จากพืชในแหล่งต่างๆ ได้แก่ สถานีวิจัยลำตะคอง จ. นครราชสีมา ได้ราเอนโดไฟต์ 46 ไอโซเลตจากพืช 51 ชนิด, ศูนย์วิจัยยาง จ. กระบี่ ได้ราเอนโดไฟต์ 65 ไอโซเลตจากพืช 9 ชนิด, สถานีวิจัยพืชสวน จ. กระบี่ ได้ราเอนโดไฟต์ 152 ไอโซเลตจากพืช 10 ชนิด และสวนพฤกษศาสตร์สากลภาคใต้ จ. ตรัง ได้ราเอนโดไฟต์ 24 ไอโซเลตจากพืช 3 ชนิด. จากนั้น คัดเลือกราเอนโดไฟต์ที่สร้างกลิ่นเพื่อไปทดสอบฤทธิ์การยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืช 5 ชนิด คือ Alternaria alternata, Curvularia clavata, Colletotrichum gloeosporioides, Penicillium digitatum และ Phomopsis sp. พบว่า มีเชื้อราเอนโดไฟต์ 11 ไอโซเลต ที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืช ได้แก่ LK6-3, LK7-6, KB-H3-4, KB-H5-6, TR-B3-8, LK-51A-3, KB-R10-2, KB-H10-8, LK-51B-1, LK51A-4 และ KB-H3-6 โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งเฉลี่ย 22, 19.6, 19.2, 17.5, 16.2, 15.9, 14.8, 10.3, 9.7, 6.3 และ 5 ตามลำดับ. นำราเอนโดไฟต์ที่ได้มาวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของสารระเหยที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญ ของเชื้อราสาเหตุโรคพืชโดยใช้แก๊สโครมาโทกราฟีแมสสเปกโทรเมทรี (GC/MS) โดยเทียบกับฐานข้อมูลของ NIST, พบว่า ราเอนโดไฟต์จะสร้างสารประกอบทางเคมีที่ระเหยได้ เช่น แอลกอฮอล์, กรด, เอสเทอร์, คีโตน และไขมัน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2013/1480
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2013/1480-2
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
แปลงทดลองสาธิตวัสดุปรับปรุงดินจากสาหร่าย : รายงานการสัมภาษณ์เกษตรกรที่ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่าย / แปลงทดลองสาธิตวัสดุปรับปรุงดินจากสาหร่าย : รายงานการสัมภาษณ์เกษตรกรที่ทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่าย / การวิจัยและพัฒนา Bio-fumigant เพื่อควบคุมโรคและแมลงในผลไม้สดหลังการเก็บเกี่ยว = research and development of bio-fumigant to control postharvest diseases and insects of tropical fruits / การวิจัยและพัฒนา Bio-fumigant เพื่อควบคุมโรคและแมลงในผลไม้สดหลังการเก็บเกี่ยว = research and development of bio-fumigant to control postharvest diseases and insects of tropical fruits / การวิจัยและพัฒนาการผลิตซีโอไลต์จากของเสียอุตสาหกรรมผลิตเหล็กในระดับห้องปฏิบัติการ = research and development of technology for zeolite production from iron industrial waste in lab scale / การวิจัยและพัฒนาการผลิตซีโอไลต์จากของเสียอุตสาหกรรมผลิตเหล็กในระดับห้องปฏิบัติการ = research and development of technology for zeolite production from iron industrial waste in lab scale / การวิจัยและพัฒนาการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อลดการสูญเสียของพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ปรับสมดุลร่างกาย = research and development on post-harvest technology to decrease the lose of adaptogen herbs /

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300