การผลิตวัตถุดิบสมุนไพรที่มีฤทธิ์ปรับสมดุลร่างกาย = production of medicinal plants for adaptogen / Piya Chalermglin...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chalermglin, Piya | Kengkarj, Patcharin | Phiriyaphattharakit, Anan | Srithongkuland, Jirapan | พัชรินทร์ เก่งกาจ | ปิยะ เฉลิ่มกลิ่น | อนันต์ พิริยะภัทรกิจ | จิรพันธ์ ศรีทองกุล | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 50-06, Sub Proj. no. 1; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2013 รายละเอียดตัวเล่ม: ฉ, 51 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การผลิตวัตถุดิบสมุนไพรที่มีฤทธิ์ปรับสมดุลร่างกายหัวเรื่อง: Adaptogen | Medicinal plantsสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Production of medicinal plants for adaptogen was conducted from October 2006 to September 2009. There were 4 medicinal plants to study namely, Ocimum tenuiflorum, Boesenbergia rotunda, Scaphium scaphigerum and Tinospora siamensis that were suitable for raw material production. The appropriated propagation was conducted and the medicinal plants were grown in organic production system. After harvesting, raw materials were treated in good condition for adaptogen. There were 3 accessions of Ocimum tenuiflorum named Prachinburi, Nakhon Ratchasima and Ang Thong which gave the highest yields of young shoot weight at 7.24, 6.82 and 6.64 kg/m2, respectively. The 3 accessions of Boesenbergia rotunda named Nakhon Pathom, Sakaeo and Kanchanaburi also gave the highest yield of rhizomes and roots weight at 7.42, 7.20 and 7.18 kg/m2 respectively. The seed yields of 3 accessions of Scaphium scaphigerum named Chanthaburi, Trat and Ubon Ratchathani were average of 4.84, 2.16 and 1.46 kg/tree, respectively. The Tinospora siamensis was endemic to Thailand and had only one accession from Sakaerat Environmental Research Station. It was propagated by seeds sowing and stem cutting for medicinal raw material production.สาระสังเขป: การผลิตวัตถุดิบสมุนไพรที่มีฤทธิ์ปรับสมดุลร่างกาย เป็นโครงการหนึ่งของชุดโครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติชนิดปรับสมดุลร่างกาย ดำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2552 ได้ศึกษาสมุนไพร 4 ชนิด คือ กะเพราแดง, กระชายแดง, พุงทะลายและชิงช้าชาลี ที่ความเหมาะสมในการผลิตเป็นวัตถุดิบสมุนไพร แล้วทำการขยายพันธุ์โดยวิธีการที่เหมาะสมต่อการปลูกในระบบเกษตรอินทรีย์และควบคุมผลผลิตของวัตถุดิบพืชสมุนไพรให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน. สำหรับใช้ในการผลิตเป็นวัตถุดิบสมุนไพรที่มีฤทธิ์ปรับสมดุลร่างกายสามารถคัดเลือกกะเพราแดงที่ให้ผลผลิตยอดอ่อนสูงสุด 3 สายพันธุ์ คือ ปราจีนบุรี, นครราชสีมาและอ่างทอง ให้ผลผลิตน้ำหนักสดสูงสุด 7.24, 6.82 และ 6.64 กก./ตร.ม. เรียงตามลำดับ. คัดเลือกกระชายแดงที่ให้ผลผลิตรากและเหง้าสดสูงสุด 3 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์นครปฐม, สระแก้ว และกาญจนบุรี ให้ผลผลิตน้ำหนักสดได้สูงสุด จำนวน 7.42, 7.20 และ 7.18 กก./ตร.ม. เรียงตามลำดับ. ทำการคัดเลือกพุงทะลายที่ให้ผลผลิตเมล็ดสูงสุด 3 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์จากจังหวัดจันทบุรี, ตราด และอุบลราชธานี สามารถจำแนกสายพันธุ์พุงทะลายในระยะที่เป็นต้นกล้าได้โดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของใบเลี้ยงและใบจริงเป็นเกณฑ์ ส่วนชิงช้าชาลีในประเทศไทยมีเพียงสายพันธุ์เดียว คือ สายพันธุ์จากสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ดและปักชำเถา เพื่อปลูกเลี้ยงให้เลื้อยไต่ซุ้มสำหรับผลิตเถาเป็นวัตถุดิบสมุนไพร
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2013/1511
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2013/1511-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP2013/1511-3

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300