วิจัยและพัฒนาระบบการผลิตพืชสมุนไพรที่มีคุณภาพเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง = research and development on production systems of medicinal plants as qualified raw materials for cosmeceutical's products / Sayan Tanpanich...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chindachia, Rewat | Kawilaves, Prayut | Keawdoung, Montree | Neamprem, Sodsri | Piemvaree, Supatra | Tanpanich, Sayan | Wongsasjanan, Surasit | สดศรี เนียมเปรม | สุพัตรา เปี่ยมวารี | มนตรี แก้วดวง | ประยุทธ กาวิละเวส | เรวัตร จินดาเจี่ย | สายันต์ ตันพานิช | สุรสิทธิ์ วงษ์สัจจานันท์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-12, Sub Proj. no. 2; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2013 รายละเอียดตัวเล่ม: ค, 39 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: วิจัยและพัฒนาระบบการผลิตพืชสมุนไพรที่มีคุณภาพเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอางหัวเรื่อง: Cosmeceuticals | Elephantopus scaber | Elephant's foot | Medicinal plants | Stephania | Stephania suberosaสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Studies on planting systems of 2 cosmecuetical plants as stephania (Stephania suberosa) for pimple treatment and Elephant's foot (Elephantopus scaber) for skin lightening were conducted. It was found that stephania grew very well under shading of salan and tree canopy. The propagation of stephania by bulb separating technique showed as high as 65% survival and the weight of bulb gain 4.73 times i.e., from 200 g. from beginning to 946.67 g after 2 years. The propagation by stem cutting showed that root generated in 30-45 days after cutting. The comparison results between younger stem cutting and older stem cutting showed that the older stem gave higher root production than the younger stem as 72% and 42%, respectively. However, cutting stem could be developed to bulb but the growth rate was rather slow. The percentage of germination of Elephant's foot was 79%. The maximum growth was 5-6 months after seedling, the leave and root yield were 734.70 and 146.59 g./plant, respectively. It flowering took 7-8 months after seedling. The suitable planting media was the mixture of soil and organic fertilizer in 1:1 ratio.สาระสังเขป: ศึกษาระบบการปลูกพืชสมุนไพรเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบผลิตเวชสำอาง จำนวน 2 ชนิด คือ บอระเพ็ดพุงช้าง สำหรับการผลิตเวชสำอางรักษาสิว และโด่ไม่รู้ล้ม สำหรับการผลิตเวชสำอางปรับสภาพผิว, พบว่า บอระเพ็ดพุงช้างเจริญเติบโตได้ดีภายใต้การปลูกที่มีการพรางแสงหรือร่มเงาไม้อื่น. การขยายพันธุ์โดยวิธีการแบ่งหัวมีเปอร์เซ็นต์การงอกของหัวย่อยเท่ากับ 65 เปอร์เซ็นต์, เก็บเกี่ยวผลผลิตได้หลังปลูก 2 ปี มีอัตราการเจริญเติบโต 4.72 เท่า จากน้ำหนักเริ่มต้น 200 กรัม, มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 946.67 กรัม/หัว. การขยายพันธุ์ด้วยวิธีการปักชำกิ่ง พบว่า การเกิดรากใช้เวลาประมาณ 30-45 วัน, ส่วนของโคนกิ่งมีการเกิดรากสูงกว่าส่วนปลายกิ่งคือ 72 และ 40 เปอร์เซ็นต์, กิ่งปักชำสามารถพัฒนาไปเป็นหัวได้ แต่การเจริญเติบโตค่อนข้างช้า. ต้นโด่ไม่รู้ล้มที่ปลูกด้วยเมล็ดมีการงอก 79 เปอร์เซ็นต์, อายุเก็บเกี่ยวระยะใบโตเต็มที่ประมาณ 5-6 เดือน. หลังเพาะเมล็ด ผลของวัสดุปลูกต่อการให้ผลผลิต พบว่า ดินผสมกับปุ๋ยอินทรีย์ สัดส่วน 1:1 โดยปริมาตร ให้ผลผลิตสูงสุด คือ น้ำหนักต้นและใบ 734.70 กรัม/ต้น และน้ำหนักราก 146.59 กรัม/ต้น, ต้นโด่ไม่รู้ล้มจะเริ่มออกดอกประมาณ 7-8 เดือน หลังเพาะเมล็ด.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2013/1495
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2013/1495-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300