การพัฒนากรรมวิธีการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบเห็ดภายหลังการเก็บเกี่ยว = development of quality control method in postharvest of fresh mushrooms / Sodsi Neamprem...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chanapan, Supavadee | Kamoltham, Montinee | Lamsub, Kusol | Neamprem, Sodsri | Phromtong, Chana | Thanakitwanitkul, Jutinat | สดศรี เนียมเปรม | กุศล เอี่ยมทรัพย์ | มนฑิณี กมลธรรม | สุภาวดี ชนะพาล | ธนกิจวนิชกุล, จุติณัฏฐ์ | ชนะ พรหมทอง | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 53-05, Sub Proj. no. 2 ; Rep. no. 1(Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2013 รายละเอียดตัวเล่ม: ซ, 65 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนากรรมวิธีการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบเห็ดภายหลังการเก็บเกี่ยวหัวเรื่อง: Mushrooms | Postharvest controlสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The quality control methods in postharvest of fresh mushrooms were developed to ensure the quality of end products and shelf life. Several selected types of fresh mushrooms such as Monkey'head mushroom, Shiitake mushroom, Abalone mushroom, Sajor-caju mushroom and Oyster mushroom were used to determine the proper methods for postharvest handling. The total polysaccharide extracts from these mushrooms at 1:12 w/v mushroom : water ratio with hot water extract at temperature 95 -100 o C. for 3 hours was the best method to give highest yield and quality. The dries mushroom materials use for polysaccharide extracts were best stored with laminated film (PET/ALU/LLDPE) under vacuum seal to prevent humidity and other bioactive compounds namely polysaccharide and beta-glucan. Pre-drying treatment was necessary to maintain the high polysaccharide extract yields. Brief submerged 15 minutes with 0.5% potassium metabisulfite solution work best for Monkey'head mushroom and Oyster mushroom and 0.25% for Shiitake mushroom, Abalone mushroom and Sajor-caju mushroom. The shelf life can be extended to maintain freshness and good quality to 30 days in Monkey'head mushroom when stored in sealed PP film and kept at 5oC. compared to only 14 days when store at 15 oC.สาระสังเขป: การพัฒนากรรมวิธีการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบเห็ดภายหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อให้มีอายุการเก็บรักษาที่ยาวนาน และยังคงมีคุณค่าทางโภชนาการตลอดจนสรรพคุณทางยา จึงได้มีการทดลองศึกษาถึงวิธีการต่างๆ ซ ึ่งได้ผลการทดลองดังนี้ คือ: การทดลองสกัดพอลิแซ็กคาไรด์ในเห็ดหัวลิง, เห็ดหอม, เห็ดเป๋าฮื้อ, เห็ดนางฟ้าภูฏาน และ เห็ดนางรมฮังการี ด้วยวิธีการต้มในน้ำร้อน อุณหภูมิ 95-100๐ซ. เป็นเวลานาน 3 ชั่วโมง โดยใช้อัตราส่วนของเห็ดที่ผ่านการอบแห้ง:น้ำ เท่ากับ 1:12 (กรัม/มิลลิลิตร) ซึ่งพบว่า เป็นวิธีการที่เหมาะสม เนื่องจากสามารถสกัดพอลิแซ็กคาไรด์ได้ในปริมาณมาก และพอลิแซ็กคาไรด์ที่ได้มีคุณภาพดี. ภาชนะบรรจุที่มีเหมาะสมในการเก็บรักษาเห็ดที่ผ่านการอบแห้ง คือ ฟิล์มประกบชนิด PET/ALU/LLDPE ร่วมกับการปิดผนึกแบบสุญญากาศ, เนื่องจากฟิล์มดังกล่าว สามารถควบคุมปริมาณความชื้นให้คงที่ ตลอดจนช่วยรักษาคุณภาพโดยเฉพาะสารสำคัญ คือ พอลิแซ็กคาไรด์ และบีตา-กลูแคนได้เป็นอย่างดี. กรรมวิธีการรักษาคุณภาพที่เหมาะสมก่อนการอบแห้ง โดยการจุ่มเห็ดหัวลิง, เห็ดนางรมฮังการี ลงในสารละลายโพแทสเซียมเมแทไบซัลไฟต์ ความเข้มข้นร้อยละ 0.5 และ การจุ่มเห็ดหอม, เห็ดเป๋าฮื้อ, เห็ดนางฟ้าภูฏาน ลงในสารละลายโพแทสเซียมเมแทไบซัลไฟต์ ความเข้มข้นร้อยละ 0.25 เป็นเวลานาน 15 นาที พบว่า เป็นวิธีการที่ช่วยรักษาคุณภาพและช่วยทำให้สกัด พอลิแซ็กคาไรด์ได้ในปริมาณมากขึ้น. การยืดอายุการเก็บรักษาเห็ดหัวลิงสด โดยการบรรจุลงในฟิล์มชนิด PP พบว่า สามารถยืดอายุการเก็บรักษาได้ 30 วัน ที่อุณหภูมิ 5๐ซ. และ 14 วัน ที่อุณหภูมิ 15๐ซ. โดยที่เห็ดยังคงมีความสดและมีคุณภาพดี.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2013/1497
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2013/1497-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP2013/1497-3
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
ศึกษาลู่ทางการใช้ประโยชน์สมุนไพรที่หายากและใกล้สูญพันธุ์ = accessible utilization of rare and extinguishable medicinal plants / ศึกษาลู่ทางการใช้ประโยชน์สมุนไพรที่หายากและใกล้สูญพันธุ์ = accessible utilization of rare and extinguishable medicinal plants / การพัฒนากรรมวิธีการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบเห็ดภายหลังการเก็บเกี่ยว = development of quality control method in postharvest of fresh mushrooms / การพัฒนากรรมวิธีการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบเห็ดภายหลังการเก็บเกี่ยว = development of quality control method in postharvest of fresh mushrooms / การพัฒนากรรมวิธีการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบเห็ดภายหลังการเก็บเกี่ยว = development of quality control method in postharvest of fresh mushrooms / วิจัยและพัฒนาระบบการผลิตพืชสมุนไพรที่มีคุณภาพเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง = research and development on production systems of medicinal plants as qualified raw materials for cosmeceutical's products / วิจัยและพัฒนาระบบการผลิตพืชสมุนไพรที่มีคุณภาพเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตภัณฑ์เวชสำอาง = research and development on production systems of medicinal plants as qualified raw materials for cosmeceutical's products /

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300