การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานเพื่อสุขภาพจากธัญพืชและวัตถุดิบธรรมชาติ = development of health sweetener from grains and natural raw materials / Sayam Sinsawat...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Khuenlom, Rasamee | Klongkarngan, Supart | Lipha, Charunee | Meeploy, Suthirak | Photisawat, Phathan | Sapchit, Thanu | Singhto, Siritham | Sinsawat, Sayam | Sue-ake, Kilita | Visutthipat, Pariyada | Visutthipat, Rachain | รัศมี เขื่อนล้อม | เสือเอก, กิลิตา | ประธาน โพธิสวัสดิ์ | สุภัทร์ คล่องการงาน | ธนู ทรัพย์ชิต | สุทธิรักษ์ มีพลอย | จารุณี ลิภา | ปริยะดา วิสุทธิแพทย์ | ราเชนทร์ วิสุทธิแพทย์ | ศิริธรรม สิงห์โต | สยาม สินสวัสดิ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-06, Sub Proj. no. 2 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2013 รายละเอียดตัวเล่ม: ง, 25 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานเพื่อสุขภาพจากธัญพืชและวัตถุดิบธรรมชาติหัวเรื่อง: Stevia | Stevioside | Sweetenersสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The appropriate plantation me1thod of stevia was investigated in order to increase its productivity and transfer knowledge to agriculturists for career promotion and income enhancement, including the investigation on consumers' safety of the products. The experiments were divided into 3 steps as follows. Firstly, to experiment for the appropriate plantation to yield the highest amount of stevia leave which was obtained from the plantation with growth stimulation of chemical fertilizer and hydro bio-feritlizer from fish. Secondly, sweetener as of Stevioside was analyzed from stevia leave from each treatment as well as consumption safety as heavy metal (lead) was analyzed with according to Ministry of Public Health 2002 Act No.262, for Stevioside and Stevioside in Food. The results of this step showed that the highest amount of sweetener was obtained from Stevia leaves with the treatment of chemical fertilizer and liquid bio-fertilizer from fish with low level of lead content not harmful to human. These stevia leaves could be used as health tea product for health-conscious consumers who want to control calorie and sugar level such as diabetic or weight-controlling patients or obesity patients, etc. Thirdly, the sensory tests were performed using beverage product from stevia leave of each treatment in order to evaluate consumers' acceptance. The experimental results revealed that stevia product treated with chemical and liquid bio-fertilizer was highly accepted by most consumers due to its less bitterness but satisfactorily acceptable sweetness. However, to commercialize stevia plantation, it was therefore, highly recommended to conduct the feasibility study with more detail considerations.สาระสังเขป: การศึกษานี้เป็นการหาวิธีการที่เหมาะสมในการปลูกหญ้าหวานเพื่อเพิ่มผลผลิตและเผยแพร่ความรู้ให้เกษตรกรเพื่อส่งเสริมอาชีพให้เกิดรายได้แก่เกษตรกร ครอบคลุมถึงการศึกษาถึงความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ต่อผู้บริโภค โดยทำการทดลอง 3 ขั้นตอน คือ : ขั้นตอนแรก ทำการทดลองหาวิธีการปลูกที่เหมาะสมเพื่อให้ทราบว่ากรรมวิธีการปลูกแบบใดสามารถให้ใบหญ้าหวานได้มากสุด พบว่าการทดลองปลูกและกระตุ้นการเจริญเติบโตด้วยปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ (ปุ๋ยน้ำจากปลา) ให้ปริมาณใบหญ้าหวานสูงสุด. ขั้นตอนที่สอง นำใบหญ้าหวานที่ได้จากการปลูกกรรมวิธีต่างๆ วิเคราะห์สารหวานในรูปสาร สตีวิโอไซด์ (Stevioside) และวิเคราะห์ด้านความปลอดภัยในการบริโภค ในรูปของการวิเคราะห์โลหะหนัก (คำนวณเป็นตะกั่ว) ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 262) พ.ศ. 2545 เรื่อง สตีวิโอไซด์และอาหารที่มีส่วนผสมของสตีวิโอไซด์ พบว่าใบหญ้าหวานที่ได้จากการทดลองปลูกและกระตุ้นการเจริญเติบโตด้วยปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ (ปุ๋ยน้ำจากปลา) ให้ปริมาณสารหวานสูงสุด และไม่พบโลหะหนักในปริมาณที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ซึ่งสามารถชงเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มชา เพื่อสุขภาพ สำหรับผู้บริโภคที่ต้องควบคุมพลังงาน หรือปริมาณน้ำตาล เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวานหรือผู้ป่วยที่ต้องควบคุมน้ำหนัก เช่น ผู้ป่วยโรคอ้วนได้. ขั้นตอนที่สาม นำใบหญ้าหวานที่ได้จากการปลูกด้วยกรรมวิธีต่างๆ เตรียมเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปเครื่องดื่มเพื่อทำการทดสอบทางประสาทสัมผัส (Sensory) เพื่อประเมินระดับความพึงพอใจของ ผู้บริโภค พบว่าผู้บริโภคพึงพอใจหญ้าหวานที่ปลูกโดยการกระตุ้นด้วยปุ๋ยชีวภาพ (ปุ๋ยน้ำจากปลา) ทั้งนี้เนื่องจากมีปริมาณความขมน้อยสุดและให้ความหวานมากในปริมาณที่ยอมรับได้. อย่างไรก็ตาม เกษตรกรที่มีความสนใจปลูกหญ้าหวานในเชิงธุรกิจ ควรพิจารณาถึงความ เหมาะสมและความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์เรื่องต้นทุนและจุดคุ้มทุนทางการผลิตเพื่อเป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจด้วย.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2013/1490
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2013/1490-2
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 3 RP2013/1490-3
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
ภาพบรรยากาศงานมอบรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น ประจำปี 2555 วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม 2555 ณ ห้องมัฆวานรังสรรค์ สโมสรทหารบก วิภาวดี 1 ทศวรรษ กรมทางหลวงชนบท 9 ตุลาคม 2555 / การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานเพื่อสุขภาพจากธัญพืชและวัตถุดิบธรรมชาติ = development of health sweetener from grains and natural raw materials / การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานเพื่อสุขภาพจากธัญพืชและวัตถุดิบธรรมชาติ = development of health sweetener from grains and natural raw materials / การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานเพื่อสุขภาพจากธัญพืชและวัตถุดิบธรรมชาติ = development of health sweetener from grains and natural raw materials / การพัฒนาชุดปลูกพืชไร้ดินระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม = development of hydroponics cultivating set for small and medium enterprise scales / การพัฒนาชุดปลูกพืชไร้ดินระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม = development of hydroponics cultivating set for small and medium enterprise scales /

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300