การศึกษาออกแบบมาตรฐานสำหรับระบบบำบัดของเสียจากฟาร์มปศุสัตว์และผลิตพลังงานทดแทนตามขนาดฟาร์มและความเหมาะสมเชิงเศรษฐศาสตร์ = design of standard drawing for wastewater treatment and renewable energy recovery system for cattle farm and the economic feasibility study / Somchai Dararat...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Boonman, Sopol | Bunliam, Nuttawoot | Chatamra, Annop | Dararat, Somchai | Homdokmi, Taweesak | Jaiaun, Pattacharee | Krongthamchart, Kannitha | พัทจารี ใจอุ่น | กาญนิถา ครองธรรมชาติ | จาฎามระ, อรรณพ | สมชาย ดารารัตน์ | ณัฐวุฒิ บุญเลี่ยม | โสภณ บุญมั่น | ทวีศักดิ์ หอมดอกไม้ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 50-08, Sub Proj. no. 6 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2013 รายละเอียดตัวเล่ม: จ, 65 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาออกแบบมาตรฐานสำหรับระบบบำบัดของเสียจากฟาร์มปศุสัตว์และผลิตพลังงานทดแทนตามขนาดฟาร์มและความเหมาะสมเชิงเศรษฐศาสตร์หัวเรื่อง: Anaerobic digestion | Cattle | Energy recovery | Renewable energy | Waste management | Waste water | Water treatmentสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The performance of waste management system was evaluated to determine its potential in producing energy and reducing environmental pollution problems. The project involving a series of laboratory studies on anaerobic digestion was observed that ambient temperature digestion of dairy manure was possible at organic loading rates (OLR) as high as 6.0 kg/m3-d and hydraulic retention time (HRT) as short as 6 days. Increasing of OLR from 6.5 to 10.0 kg VS/m3-d increased the biogas production rate but decreased the biogas yield and treatment efficiency. At an OLR of 6.0 kg/m3-d, biogas production rates as high as 5.16 m3/m3-d. The stability of anaerobic digestion was entirely not affected by changes in temperature, high OLR and concentration, or short HRT. A 100-year life -cycle greenhouse gas analysis showed that waste management system with anaerobic digesters were capable of reducing global warming, potentially by about 80% on the basis of this project diary. Farmers should be encouraged to introduce anaerobic digester into waste management system not only for energy production but also for reducing global warming.สาระสังเขป: โครงงานวิจัยนี้ดำเนินการศึกษาสมรรถนะการจัดการของเสียที่รวมการประเมินศักยภาพในการผลิตพลังงานและลดสภาวะมลพิษ. การศึกษานั้ ดำเนินการในถังปฏิกิริยาแบบไม่ใช้อากาศในห้องปฏิบัติการ. โดยการศึกษา พบว่า การย่อยสลายสารมลพิษในมูลจากฟาร์มโคนม สามารถดำเนินการได้ในสภาวะอุณหภูมิห้อง, ที่อัตรารับภาระ 6.0 กิโลกรมต่อ ลบ.ม. - วัน ที่เวลาเก็บกักทางชลสาสตร์ (HRT) เพียง 6 วัน การเพิ่มอัตราการรับภาระจาก 6.5 เป็น 10.0 กิโลกรัม VS ต่อ ลบ.ม. - วัน จะเพิ่มอัตราการผลิตก๊าซ, แต่ลดผลผลิตของกีาซชีวภาพและลดประสิทธิภาพการกำจัดสารมลพิษ. อัตราการผลิตก๊าซชีวภาพที่อัตรารับภาระ 6.0 กิโลกรัม VS ต่อ ลบ.ม. - วัน จะอยู่ในอัตรา 5.16 ลบ.ม./ลบ.ม.-วัน สำหรับเสถียรภาพของระบบ พบว่า ผลของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ, อัตราการรับภาระสารอินทรีย์และความเข้มข้น หรือเวลาเก็บกีกทางชลศาสตร์ จะก่อปัญหาเพียงเล็กน้อยหากระบบมีความสามารถรักษาปริมาณจุลินทรีย์ในระบบได้สูงพอ. การวิเคราะห์ 100-year-life-cycle greenhouse gas พบว่า การจัดการของเสียในฟาร์มปศุสัตว์ที่มีการผนวกใช้ระบบบำบัดของเสียแบบไม่ใช้อากาศ จะสามารถลดปัญหาโลกร้อนได้ถึงร้อยละ 80 เทียบกับไม่มีการผนวกระบบดังกล่าว.สาระสังเขป: โครงงานวิจัยนี้ดำเนินการศึกษาสมรรถนะการจัดการของเสียที่รวมการประเมินศักยภาพในการผลิตพลังงานและลดสภาวะมลพิษ. การศึกษานี้ ดำเนินการในถังปฏิกิริยาแบบไม่ใช้อากาศในห้องปฏิบัติการ. โดยการศึกษา พบว่า การย่อยสลายสารมลพิษในมูลจากฟาร์มโคนม สามารถดำเนินการได้ในสภาวะอุณหภูมิห้อง, ที่อัตรารับภาระ 6.0 กิโลกรัมต่อลบ.ม.-วัน, ที่เวลาเก็บกักทางชลศาสตร์ (HRT) เพียง 6 วัน. การเพิ่มอัตราการรับภาระจาก 6.5 เป็น 10.0 กิโลกรัม VS ต่อ ลบ.ม.-วัน จะเพิ่มอัตราการผลิตก๊าซ, แต่ลดผลผลิตของก๊าซชีวภาพและลดประสิทธิภาพการกำจัดสารมลพิษ. อัตราการผลิตก๊าซชีวภาพที่อัตรารับภาระ 6.0 กิโลกรัม VS ต่อลบ.ม.-วัน จะอยู่ในอัตรา 5.16 ลบ.ม./ลบ.ม.-วัน. สำหรับเสถียรภาพของระบบ พบว่า ผลของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ, อัตราการรับภาระสารอินทรีย์และความเข้มข้น หรือเวลาเก็บกักทางชลศาสตร์ จะก่อปัญหาเพียงเล็กน้อยหากระบบมีความสามารถรักษาปริมาณจุลินทรีย์ในระบบได้สูงพอ. การวิเคราะห์ 100- year-life-cycle greenhouse gas พบว่า การจัดการของเสียในฟาร์ม ปศุสัตว์ที่มีการผนวกใช้ระบบบำบัดของเสียแบบไม่ใช้อากาศ จะสามารถลดปัญหาโลกร้อนได้ถึงร้อยละ 80 เทียบกับไม่มีการผนวกระบบดังกล่าว.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2013/1487
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2013/1487-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300