การวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากน้ำนมดิบคุณภาพต่ำ = research and development on the utilization of low quality raw milk / Wiwat Pathomyothin, Pornpattara Srinorakutara, Chitsupang Roungprat

โดย: Pathomyothin, Wiwat
ผู้แต่งร่วม: Roungprat, Chitsupang | Srinorakutara, Pornpattara | เรืองปราชญ์, ชิดสุภางค์ | วิวัธน์ ปฐมโยธิน | พรภัทรา ศรีนรคุตร | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-02, Sub Proj. no. 4 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2012 รายละเอียดตัวเล่ม: ฉ, 65 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากน้ำนมดิบคุณภาพต่ำหัวเรื่อง: Milk and milk productsสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Low quality raw milk from farms in Saraburi province was developed and processed as five flavored milks i.e. ginger, roselle, pineapple, lemon grass, and pumpkin flavored milk. The heavy syrup was prepared with the above natural flavors. The raw milk was boiled at 80 °C for 3 minutes in order to kill the microbes. Then, it was mixed with the flavored syrup and filled in 250 milliliters glass bottle sealing with the lug cap. The flavored milk was pasteurized by boiling in the hot water at 80 °C for 10 minutes. After chemical analyzing these flavored milk, there were 2-3% protein, 6-10% carbohydrate, 3-4% fat content and the high several mineral contents such as calcium, phosphorous and iron. These flavored milks were sensory tested by consumers. They accepted the roselle, pineapple and pumpkin milk in the range between like moderately to like very much but the ginger and lemon grass milk were in like slightly. In addition, the raw milk was developed to finished food products for example panna cotta, milk gummy jell and yoghurt as the alternative value added milk products to the market.สาระสังเขป: น้ำนมดิบคุณภาพต่ำจากฟาร์มโคนมในจังหวัดสระบุรี ได้ถูกนำมาทดลองผลิตเป็นนมปรุงแต่งรส 5 ประเภท คือ รสขิง, รสกระเจี๊ยบ, รสสับปะรด, รสตะไคร้ และรสฟักทอง โดยการเตรียมน้ำเชื่อมเข้มข้นต่างๆ ด้วยวัตถุดิบตามธรรมชาติแล้วนำมาผสมกับน้ำนมดิบที่ผ่านการฆ่า เชื้อจุลินทรีย์ที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส นาน 3 นาที เมื่อผสมเสร็จบรรจุขวดขนาด 250 มิลลิลิตร ปิดผนึกฝาแล้วนำไปต้มฆ่าเชื้อจุลินทรีย์อีกครั้งที่อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส นาน 10 นาที ผลิตภัณฑ์ปรุงแต่งรสที่ได้ มีค่าโปรตีน 2-3 %, คาร์โบไฮเดรต 6-10 %, ไขมัน 3-4 % และมีปริมาณแร่ธาตุ คือ แคลเซียม, ฟอสฟอรัส และเหล็กในปริมาณสูง เมื่อนำไปทดสอบการยอมรับของผู้บริโภคพบว่า ผู้บริโภคให้การยอมรับนมรสกระเจี๊ยบ, รสสับปะรด และรสฟักทองในเกณฑ์ ชอบ ปานกลาง - ชอบมาก แต่นมรสขิงและนมรสตะไคร้อยู่ในเกณฑ์ชอบน้อย. นอกจากนี้ได้ทดลองนำนมดิบทำอาหารสำเร็จรูป คือ ผลิตภัณฑ์ พันนาคอตตา, เยลลี่กัมมี่นม และโยเกิร์ตเพื่อเป็นทางเลือกในการแปรรูปนมดิบเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่างๆ ที่มีมูลค่าเพิ่มส่งขายสู่ท้องตลาดได้.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2012/1447
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2012/1447-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300