พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไบโอไฮโดรเจนโดยใช้ระบบยูเอเอสบี = development of technology for bio-hydrogen production by UASB system / Patthanant Natpinit...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Anuwattana, Rewadee | Natpinit, Patthanant | Ploypatarapinyo, Preecha | Sappinunt, Tawee | นาถพินิจ, พัทธนันท์ | ปรีชา พลอยภัทรภิญโญ | ทวี สัปปินันท์ | เรวดี อนุวัฒนา | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-20, Sub. Proj. no. 5 Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2013 รายละเอียดตัวเล่ม: ฌ, 105 p. : tables, ill. (some col.) ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไบโอไฮโดรเจนโดยใช้ระบบยูเอเอสบีหัวเรื่อง: Hydrogen | Hydrogen as fuel | Hydrogen production | UASB reactor | Waste utilization | Wastesสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The objective of this investigation was to develop the technology of hydrogen production by UASB system from various wastes such as food wastewater, sucrose and residues of pulp and paper. The seed sludge which was heated at 90oC 20 min was anaerobic sludge in granular form in UASB system from Serm Suk Public Co., Ltd. The MLSS of seed sludge was 19,225 mg/l with 2 liters. The fermenter was an upflow anaerobic sludge blanket (UASB). The investigation was focused on 3 types of wastes that controlled COD of each waste at 30,000 mg/l. The system was gradually COD loading rate from 20-30 kgCOD/m3.d at HRT 1 days. The averages of gas production rate of food waste, sucrose and residue pulp were 0.165, 0.164 and 0.213 L-H2/gCODr.d respectively. The percentages of hydrogen production of each waste were 40.64%, 45.85% and 39.30%, respectively. In addition, the ratios of VFAeff/inf were 3.31 (food waste) and 4.68 (residue pulp). The amount of butyric acid produced increased in food waste effluent at high rate while acetic acid increased in sucrose effluent at high rate. On the other hand, butyric acid and acetic acid increased closely in residue pulp but butyric acid had more production rate than acetic acid. Besides, F/M ratios for hydrogen production of each waste were 3.97, 4.01 and 3.21 gCOD/gVSS respectively. pH (4.0-4.5), the ratio of VFAeff/inf (>2), the ratio of butyric and acetic (C4/C2) (>1) and the ratio of propionic and acetic (C3/C2) (<0.1) of effluent were indicators of the performance of hydrogen production.สาระสังเขป: โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตก๊าซไฮโดรเจนโดยใช้ระบบยูเอเอสบีจากของเสียประเภทต่างๆ ได้แก่ น้ำเสียเศษอาหาร, น้ำตาลซูโครส และเศษเยื่อกระดาษ เป็นต้น. เชื้อจุลินทรีย์ที่ใช้เป็นเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ในระบบยูเอเอสบีของบริษัทเสริมสุข จำกัด (มหาชน) ซึ่งผ่านการต้มที่อุณหภูมิ 90oซ. 20 นาที ปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ที่ใช้ 19,225 มก./ล. ที่ปริมาตร 2 ลิตร. ถังหมักออกแบบเป็นระบบไหลขึ้นผ่านชั้นตะกอนจุลินทรีย์หรือยูเอเอสบี. ในการทดลองนี้ ได้เลือกใช้วัตถุดิบ 3 ชนิด และควบคุมปริมาณซีโอดีของน้ำเสียแต่ละประเภทที่ 30,000 มก./ล. โดยเริ่มป้อนน้ำเสียที่อัตราภาระรับซีโอดี 20-30 กก.ซีโอดี/ลบ.ม.-วัน ที่ระยะเวลาเก็บกัก 1.0 วัน. อัตราการเกิดก๊าซเฉลี่ยของน้ำเสียเศษอาหาร, น้ำตาลซูโครส และเศษเยื่อกระดาษ เป็น 0.165, 0.164 และ 0.213 ล.ไฮโดรเจน/ก.ซีโอดีที่ถูกกำจัด-วัน. ร้อยละก๊าซไฮโดรเจนที่ผลิตได้จากแต่ละของเสียเป็น 40.64%, 45.85% และ 39.30% ตามลำดับ. นอกจากนี้ อัตราส่วนกรดอินทรีย์ออก ต่อเข้ามีค่า 3.31 (น้ำเสียเศษอาหาร) และ 4.68 (เศษเยื่อกระดาษ). ในน้ำเสียเศษอาหารมีอัตราเพิ่มขึ้นของกรดบิวทิริกมากที่สุด, ส่วนน้ำตาลซูโครสมีอัตราเพิ่มขึ้นของกรดแอซีติกมากที่สุด. แต่เศษเยื่อ กระดาษมีปริมาณของกรดบิวทิริกและกรดแอซีติกใกล้เคียงกัน, แต่มีอัตราเพิ่มขึ้นของกรดบิวทิริก สูงกว่ากรดแอซีติก. นอกจากนี้ อัตราส่วนของอาหารและจุลินทรีย์ของแต่ละของเสียอยู่ที่ 3.97, 4.01 และ 3.21 ก.ซีโอดี/ก.วีเอสเอส ตามลำดับ. ระดับพีเอช (4.0-4.5), อัตราส่วนกรดอินทรีย์ออกต่อเข้า (>2), อัตราส่วนกรดบิวทิริกต่อกรดแอซีติก (>1), อัตราส่วนกรดโพรไพโอนิกต่อกรดแอซีติก (<0.1) ของน้ำเสียที่ออกจากระบบ เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตก๊าซไฮโดรเจน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2013/1496
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2013/1496-2
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
การศึกษาผลความเปนไปได้ของโครงการทดสอบและทดลองตลาดผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ = pre-feasibility study and product testing on product of anti-oxidant / การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาเห็ดสดและเห็ดแห้ง = research and development postharvest technology of mushrooms : fresh and dry state / การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาเห็ดสดและเห็ดแห้ง = research and development postharvest technology of mushrooms : fresh and dry state / พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไบโอไฮโดรเจนโดยใช้ระบบยูเอเอสบี = development of technology for bio-hydrogen production by UASB system / พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไบโอไฮโดรเจนโดยใช้ระบบยูเอเอสบี = development of technology for bio-hydrogen production by UASB system / การศึกษาคุณสมบัติและการใช้งานบรรจุภัณฑ์อ่อนตัวหลายชั้น (multi-layer flexible packaging) สำหรับผลิตภัณฑ์อาหารที่ไวต่อความชื้น = study on properties and performance of multi-layer flexible packaging for moisture sensitive food products / การศึกษาคุณสมบัติและการใช้งานบรรจุภัณฑ์อ่อนตัวหลายชั้น (multi-layer flexible packaging) สำหรับผลิตภัณฑ์อาหารที่ไวต่อความชื้น = study on properties and performance of multi-layer flexible packaging for moisture sensitive food products /

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300