การศึกษาระบบบำบัดน้ำเสียแบบต่อเนื่องของระบบ USAB และ ASBR เพื่อลดปัญหา Eutrophication = study on continuous waste water treatment system of USAB and ASBR to reduce eutrophication / Somchai Dararat...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Boonman, Sopol | Boonram, Natavot | Chai-un, Patjari | Chatamra, Annop | Cherdchusima, Ariya | Dararat, Somchai | Katekaew, Angkana | Krongthammachart, Ganitha | เกตุแก้ว, อังคณา | เชิดชูสีมา, อริยา | พัทจารี ใจอุ่น | กาญนิถา ครองธรรมชาติ | อรรณพ จาฏามระ | สมชาย ดารารัตน์ | ณัฐวุฒิ บุญเลี่ยม | โสภณ บุญมั่น | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 47-07, Sub. Proj. no. 3 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, รายละเอียดตัวเล่ม: ช, 129 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาระบบบำบัดน้ำเสียแบบต่อเนื่องของระบบ USAB และ ASBR เพื่อลดปัญหา Eutrophicationหัวเรื่อง: Anaerobic sequencing batch reactor | Denitrification | Eutrophication | Upflow anaerobic sludge bed | Waste water | Water treatmentสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Conventional removal of ammonium requires usually large amounts of energy of aeration and organic carbon for denitrification. The research described in this report focused on making the N-removal process more sustainable. In comparison with conventional N-removal, the anammox process (Anaerobic Ammonia Oxidation) results in a reduction of required aeration energy and carbon source. A partnership between Methanogenesis and Anammox would contribute even more to a sustainable wastewater treatment. Compared with conventional N removal, 40% less oxygen is necessary, an organic carbon source is not required and sludge production is negligible. In this research the feastivity of Anammox processes was tested by using a model of anaerobic sequencing batch reactor (ASBR) with 24 liter working volume, 20,000 mg/l MLVSS and 50 rounds/min stirring. At organic loading rates of 0.027, 0.039 and 0.053 gNH4-N/m3-d, more than 50% ammonia nitrogen was removed. The highest ammonia nitrogen removal of 70% was obtained at 0.053 gNH4-N/m3-d organic loading rate. More than 99% nitrite was treated at every tested condition. The chemical oxygen demand removal were better than 80%. Microbial sludge granules, after wastewater treatment, turned darker and denser. The ratio of MLVSS to MLSS of the granules was 0.86.สาระสังเขป: เทคโนโลยีการกำจัดแอมโมเนียจากน้ำเสียในปัจจุบันเป็นกระบวนการที่มีความต้องการใช้พลังงานในขั้นตอนการเติมอากาศ และการเติมสารที่เป็นแหล่งคาร์บอนและตัวใช้อิเล็กตรอน เพื่อให้กระบวนการดีไนตริฟิเคชันเกิดขึ้นได้. การศึกษาในเอกสารนี้จะบรรยายถึงกระบวนการ กำจัดสารประกอบไนโตรเจนที่ยั่งยืน ทั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบกระบวนการกำจัดสารไนโตรเจนแบบดั้งเดิมและควบรวม กระบวนการมีเทนโนเจนนิซิสกับกระบวนการแอนแอโรบิก แอมโมเนีย ออกซิเดชันในถังปฏิกิริยาแบบ ASBR ซึ่งพบว่าสามารถประหยัดพลังงานได้ร้อยละ 40 และไม่ต้อง เสียค่าใช้จ่ายในการเติมสารให้คาร์บอนและสารให้อิเล็กตรอน รวมถึงเกิดปัญหามวลชีวภาพที่กำหนดน้อยมากหรือไม่มีเลย งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาความเหมาะสมของการใช้กระบวนการแอนแอโรบิก แอมโมเนีย ออกซิเดชัน ในการกำจัดสารประกอบไนโตรเจนในน้ำเสีย ในแบบจำลองของระบบเอเอสบีอาร์ (anaerobic sequencing batch reactor; ASBR) ที่มีขนาดปริมาตรทำปฏิกิริยา 24 ลิตร ความเข้มข้น ของจุลินทรีย์ในถังปฏิกิริยา 20,000 มิลลิกรัมต่อลิตร กวนด้วยความเร็วรอบ 50 รอบต่อนาที. ที่ภาระบรรทุกสารอินทรีย์ในรูปของแอมโมเนียไนโตรเจน 0.027, 0.039 และ 0.053 กรัม แอมโมเนียไนโตรเจน/ลิตร-วัน ระบบมีประสิทธิภาพในการบำบัดแอมโมเนียไนโตรเจนได้ มากกว่าร้อยละ 50 และสูงสุดร้อยละ 70 ที่ภาระบรรทุกสารอินทรีย์ในรูปของแอมโมเนียไนโตรเจน 0.053 กรัม แอมโมเนียไนโตรเจน/ลิตร-วัน และสามารถบำบัดไนไทรต์ได้มากกว่าร้อยละ 99 ในทุกภาระบรรทุกสารอินทรีย์. นอกจากนี้ ระบบเอเอสบีอาร์สามารถบำบัดสารอินทรีย์ในรูปของซีโอดีได้มากกว่าร้อยละ 80. หลังการบำบัดเม็ดตะกอนจุลินทรีย์มีสีดำเข้มขึ้น, ลักษณะเม็ดจะแน่นมากกว่าเม็ดตะกอนก่อนการบำบัด และมีค่าสัดส่วนของของแข็งแขวนลอยระเหยต่อของแข็ง แขวนลอยของเม็ดตะกอนจุลินทรีย์เท่ากับ 0.86.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2012/1430
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2012/1430-2
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
ผลของอิเล็กโทรไลต์และโอโซนต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวเงาะ = effective of electrolyzed water and ozone for postharvest quality rambutan / การคัดกรองและพิสูจน์เอกลักษณ์ของแบคทีเรียชอบเกลือที่ผลิตฮีสทามีนและอัลคาไลน์ฟอสฟาเทส = screening and identification of selected halophilic bacteria producing histamine and alkaline phosphatase โครงการเพิ่มศักยภาพชาวนาไทยเพื่อรองรับการเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียน การศึกษาระบบบำบัดน้ำเสียแบบต่อเนื่องของระบบ USAB และ ASBR เพื่อลดปัญหา Eutrophication = study on continuous waste water treatment system of USAB and ASBR to reduce eutrophication / การศึกษาระบบบำบัดน้ำเสียแบบต่อเนื่องของระบบ USAB และ ASBR เพื่อลดปัญหา Eutrophication = study on continuous waste water treatment system of USAB and ASBR to reduce eutrophication / การพัฒนาสารประกอบมูลค่าเพิ่มจากผลพลอยได้ของกระบวนการผลิตไบโอดีเซล = Production of 1,3-propanediol using raw glycerol for energy source of microorganism / การพัฒนาสารประกอบมูลค่าเพิ่มจากผลพลอยได้ของกระบวนการผลิตไบโอดีเซล = Production of 1,3-propanediol using raw glycerol for energy source of microorganism /

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300