การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานเพื่อสุขภาพ : แลคโตซูโครส = research and development of health sweetener production : lactosucrose / Rachain Visuthipat...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Photisawatd, Pathan | Singhtho, Siritham | Sinsawat, Sayam | Visutthipat, Pariyada | Visutthipat, Rachain | ประธาน โพธิสวัสดิ์ | ปริยะดา วิสุทธิแพทย์ | ราเชนทร์ วิสุทธิแพทย์ | ศิริธรรม สิงห์โต | สยาม สินสวัสดิ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-06, Sub. Proj. no. 3 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2012 รายละเอียดตัวเล่ม: ง, 38 p. : tables, col. ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานเพื่อสุขภาพ : แลคโตซูโครสหัวเรื่อง: Beta-fructofurennosidase | Enzymes | Lactosucrose | Microorganisms | Sweetenersสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The selection of microorganisms from food was performed in order to investigate the production of beta-fructofurennosidase enzyme. It was found that Bacillus subtilis SM 12 strain, isolated from sweetened condensed milk created the highest level of this enzyme. Consequently, this enzyme was extracted from this bacterila strain and used for the study of the opitmal condition in terms of temperature and PH to produce lacto-sucrose which showed that 50C and PH 6 were the highest efficient condition for this enzyme to produce lacto-sucrose of 14 g/I/hr. In addition, it was also found that 0.4% was the most suitable magnesium concentration for optimal growth of Bacilus subtilis SM 12, and ammonia salt could not be used to substitute yeast extract due to the difference in bacterial growth. The results of microbial fermentation in laboratory showed that the best growth medium was composed of 25% sucrose, 1.5 % yeast extract, 0.4 % magnesium sulfate, and 0.14 % anti-light-time, at PH 6.0, and 28 C., under 1 VVM aeration rate and 600 rpm, resulting in an increased production of beta-fructofurennosidase enzyme compared to that of shaker cultivation.สาระสังเขป: ได้ทำการคัดเลือกจุลินทรีย์จากอาหาร เพื่อศึกษาการผลิตเอนไซม์บีตา-ฟรักโทฟูเรนโนซิเดส. จากการคัดเลือกพบว่า Bacillus subtilis SM 12 ซึ่งแยกได้จากนมข้นหวานมีการสร้างเอนไซม์ดังกล่าวมากที่สุด. ต่อมา จึงสกัดเอนไซม์จากจุลินทรีย์ดังกล่าว เพื่อศึกษาอุณภูมิ, ความเป็นกรดเบสที่เหมาะสมเพื่อการผลิตแลกโทซูโครส. พบว่า อุณภูมิที่เหมาะสมคือ 50 องศาเซลเซียส และความเป็นกรดเบสที่เหมาะสมคืด 6. ในสภาวะดังกล่าวทำให้เอนไซม์มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการผลิตแลคโตซูโครส ซึ่งผลิตได้ในระดับ 14 กรัมต่อลิตรต่อชั่วโมง. นอกจากนั้นยังได้ศึกษาถึงระดับความเข้มข้นของแมกเนเซียมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของ Bacilus substilis SM 12, พบว่า อัตราที่เหมาะสมคือที่ร้อยละ 0.4 สำหรับการใช้เกลือแอมโมเนียมเพื่อทดแทนยีสต์เอกซ์แทรกต์นั้น พบว่า เกลือแอมโมเนียมไม่สามารถทดแทนยัสต์เอกซ์แทรกต์ได้ เนื่องจากให้ผลการเจริญเติบโตที่แตกต่างกับการใช้ยัสต์เอกซ์แทรกต์. การเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ในถึงหมักระดับห้องปฏิบัติการ พบว่า ใช้อาหารที่ประกอบด้วยซูโครสร้อยละ 25, ยัสต์เอกแทรกต์ร้อยละ 1.5, แมกเนเซียมซัลเฟตร้อยละ 0.4 และ แอนติไฟม์ร้อยละ 0.1, ควบคุมความเป็นกรดเบสที่ 6.1, อุณหภูมิที่ 28 องศาเซลเซียส, ภายใต้สภาวะของการให้อากาศ 1 VVM, อัตราการกวน 600 รอบ/นาที. พบว่าอัตราการผลิตเอนไซม์บีตา-ฟรักโทฟูเรนโนซิเดสเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการเพาะเลี้ยงแบบเขย่าขวดเลี้ยงเชื้อ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2012/1423
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
การวิจัยและพัฒนาการผลิตแอลฟากลูโคซิลกลีเซอรอลเพื่อการลดน้ำหนักอย่างปลอดภัย = research and development of alpha glucosyl glycerol production for safety losing weight / การวิจัยและพัฒนาการผลิตแอลฟากลูโคซิลกลีเซอรอลเพื่อการลดน้ำหนักอย่างปลอดภัย = research and development of alpha glucosyl glycerol production for safety losing weight / การพัฒนาวัสดุสิ้นเปลืองทางการแพทย์จากพลาสติกย่อยสลายได้ = development of disposal material from biodegradable plastic / การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สารให้ความหวานเพื่อสุขภาพ : แลคโตซูโครส = research and development of health sweetener production : lactosucrose / ผลของอิเล็กโทรไลต์และโอโซนต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวเงาะ = effective of electrolyzed water and ozone for postharvest quality rambutan / ผลของอิเล็กโทรไลต์และโอโซนต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวเงาะ = effective of electrolyzed water and ozone for postharvest quality rambutan / การคัดกรองและพิสูจน์เอกลักษณ์ของแบคทีเรียชอบเกลือที่ผลิตฮีสทามีนและอัลคาไลน์ฟอสฟาเทส = screening and identification of selected halophilic bacteria producing histamine and alkaline phosphatase

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300