การพัฒนาเทคโนโลยีในการแยกก๊าซไฮโดรเจนให้บริสุทธิ์ = development of technology for hydrogen purification / Rewadee Anuwattana, Preecha ploypattarapinyo, Patthanant Natpinit

โดย: Anuwattana, Rewadee
ผู้แต่งร่วม: Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-20, Sub Proj. no. 6 ; Rep. no.1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2012 รายละเอียดตัวเล่ม: ฌ, 97 p. : tables, ill. (some col.) ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การพัฒนาเทคโนโลยีในการแยกก๊าซไฮโดรเจนให้บริสุทธิ์หัวเรื่อง: Hydrogen | Zeoliteสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The study is to synthesize zeolite from the cupola slag material and reform in granule shape for hydrogen gas purification. The synthesis conditions such as solution concentrations of 1, 3 and 5 M NaOH, reaction temperature of 105oC and reaction times of 1,3,5,7 and 9 hours were examined. The optimum condition was evaluated by a CEC and percent yield of zeolite. The quality zeolite could be obtained from fusing the cupola slag with NaOH in a ratio of 1:3 by weight at 550 oC for 1 hour. The fused cupola slag was activated by 3M NaOH solution in a closed system at 105 oC for 3 hrs. The obtained product as Na-A had 87.6% zeolite with 507.6 mg CaCO3/g zeolite. It was exchanged with LiCl, KCl, MgCl2 and CaCl2 of 1 mol/lit for 24 hours before form the pellets by wet granulation technique. The pellets were used for gas separation by pressure swing adsorption. The optimum condition of pressure swing adsorption was a pressure of 3 atmosphere, a ratio of flow in / flow out of 2.0 by using the gas mixture of 15% of H2 , 50% of CO2 and 35% of N2. Li-A zeolite showed good adsorbent for CO2 adsorption. The output gas product showed H2 concentration was increased from 15% to 89-90% and CO2 decreased from 50% to 0.5-1.0% (97.79% CO2 removal). The zeolite products from slag could be alternatiove material for hydrogen purification.สาระสังเขป: โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตซีโอไลต์จากตะกรันเหล็กพร้อมขึ้นรูปเม็ดเพื่อใช้ในการแยกก๊าซไฮโดรเจนให้บริสุทธิ์. สภาวะที่เหมาะสมในการสังเคราะห์ซีโอไลต์จากตะกรันเหล็ก คือ การหลอมตะกรันด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ในอัตราส่วน 1:3 ที่ อุณหภูมิ 550 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 1 ชั่วโมง และหาสภาวะที่เหมาะสม ได้แก่ ปัจจัยความเข้มข้น สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (1, 3 และ 5 โมลต่อลิตร) เป็นเวลา 1, 3, 5, 7 และ 9 ชั่วโมง อุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส พบว่า สภาวะที่เหมาะสมคือ การกระตุ้นด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ความเข้มข้น 3 โมลต่อลิตรเป็นเวลา 3 ชั่วโมง พบว่าสามารถสังเคราะห์เป็นซีโอไลต์ชนิด A ได้โดยให้ค่าความเป็นผลึกเท่ากับ 87.6% (Calcium exchange capacity of 507.6 mgCaCO3/g zeolite) และถูกแลกเปลี่ยนด้วยสารละลาย LiCl, KCl, MgCl2 and CaCl2 of 1 โมลต่อลิตร เป็นเวลา 24 ชั่วโมง และถูกทำให้เป็นเม็ดเพื่อใช้กับเครื่องแยกก๊าซสลับความดัน โดยศึกษาพารามิเตอร์ต่างๆ ได้แก่ ความดัน, อัตราการไหลออกต่ออัตราการไหลเข้า ชนิดไอออนบวก และ ระยะเวลาครบรอบ พบว่า ความดันที่ให้ประสิทธิภาพการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงสุดได้แก่ ความดัน 3 บรรยากาศ. อัตราการไหลเข้าต่ออัตราการไหลออกเท่ากับ 2 โดยการป้อนก๊าซผสมไฮโดรเจนที่มีองค์ประกอบ 15% of H2 , 50% of CO2 และ 35% of N2. พบว่า ซีโอไลต์ผ่านการแลกเปลี่ยนด้วยลิเทียม (Li-A) ให้ประสิทธิภาพการกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงสุด โดยก๊าซขาออกมีปริมาณก๊าซไฮโดรเจนสูงจากเดิม 15% เป็น 89-90% และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงจาก 50% เหลือ 0.5-1.0% (97.79% การกำจัดก๊าซ CO2). จากผลการศึกษาโดยการใช้ซีโอไลต์จากตะกรันเหล็ก พบว่า สามารถทำก๊าซไฮโดรเจนให้บริสุทธิ์จากเดิม 15% เป็น 86-87%.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2012/1451
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2012/1451-2
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
การพัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากข้าวที่ไม่มีแอลกอฮอล์ = development of production process for non-alcoholic rice beverage / การพัฒนากระบวนการผลิตเอทานอลไร้น้ำโดยใช้ Membrane หรือ Molecular Sieve = development of anhydrous ethanol process by using membrane or molecular sieve / การพัฒนากระบวนการผลิตเอทานอลไร้น้ำโดยใช้ Membrane หรือ Molecular Sieve = development of anhydrous ethanol process by using membrane or molecular sieve / การพัฒนาเทคโนโลยีในการแยกก๊าซไฮโดรเจนให้บริสุทธิ์ = development of technology for hydrogen purification / การพัฒนาเทคโนโลยีในการแยกก๊าซไฮโดรเจนให้บริสุทธิ์ = development of technology for hydrogen purification / การวิจัยและพัฒนาการผลิตแอลฟากลูโคซิลกลีเซอรอลเพื่อการลดน้ำหนักอย่างปลอดภัย = research and development of alpha glucosyl glycerol production for safety losing weight / การวิจัยและพัฒนาการผลิตแอลฟากลูโคซิลกลีเซอรอลเพื่อการลดน้ำหนักอย่างปลอดภัย = research and development of alpha glucosyl glycerol production for safety losing weight /

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300