การพัฒนากระบวนการผลิตเอทานอลไร้น้ำโดยใช้ Membrane หรือ Molecular Sieve = development of anhydrous ethanol process by using membrane or molecular sieve / Teerapatr Srinorakutara...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Artjariyasripong, Suparp | Baoban, Wannaluk | Jamrak, Pongnarin | Jaree, Attasak | Kawvimol, Lerdluk | Kunhanont, Thapparait | Panphan, Visanu | Ratanasong, Yoothasak | Srinorakutara, Teerapatr | แก้ววิมล, เลิศลักษณ์ | เทพฤทธิ์ กัณหานนท์ | จารีย์, อรรถศักดิ์ | จำรักษ์, พงศ์นรินทร์ | วรรณลักษณ์ บัวบาน | วิษณุ ปั้นพันธุ์ | ยุทธศักดิ์ รัตนสงฆ์ | ธีรภัทร ศรีนรคุตร | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 45-02, Sub Proj. no. 5 ; Final reportข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, รายละเอียดตัวเล่ม: ญ, 134 p. : tables, ill. ; 30 cm.หัวเรื่อง: Adsorbents | Ethanol | Molecular sieveสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: This research objective was comparing water vapor adsorption and desorption abilities of industrial anhydrous-ethanol adsorbent: molecular sieve 3A with local materials by using pressure swing fixed bed adsorber. In case of water vapor adsorption, adsorption isotherms (at 110 and 130 oC) and adsorptive breakthrough curves with the feed rate of ethanol (95.5 wt%) at 5.90, 7.86, and 9.83 ml/min were investigated. For water vapor desorption, desorptive breakthrough curves under vacuum of -0.4 to -0.3 bar with feed flow rate of anhydrous ethanol at 0.98, 1.97, and 2.95 ml/min at 110 and 130 oC were investigated. Different kinds of local material were tested primarily in order to determine their adsorptive breakthrough curves and to compare with the adsorptive breakthrough curve of molecular sieve 3A. The results showed that half grain glutinous corn and mixed fly ash and cement could adsorb water vapor from mixed vapor of ethanol and water. Consequently, they were used for water vapor adsorption and desorption ability testing under the same operating conditions as used for testing the molecular sieve 3A. The results showed that water vapor adsorptive capacity of molecular sieve 3A was 2.9 times higher than that of half grain glutinous corn and 7.4 times higher than that of mixed fly ash and cement with the ratio of 3:1 by volume. These three kinds of adsorbent could produce 99.5 wt% ethanol and anhydrous ethanol could also be used for water vapor desorption from these adsorbents.สาระสังเขป: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ การเปรียบเทียบความสามารถในการดูดซับและคายซับไอน้ำระหว่างสารดูดซับที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตเอทานอลไร้น้ำชนิดโมเลกุลาร์ซีฟ 3A กับวัสดุจากท้องถิ่นชนิดต่างๆ โดยทดสอบในเครื่องดูดซับเบดนิงแบบเปลี่ยนแปลงความดัน การทดสอบความสามารถในการดูดซับไอน้ำได้ทำการทดสอบหาสมดุลการดูดซับที่อุณหภูมิ 110 และ 130 องศาเซลเซียส กับเส้นโค้งการดูดซับโดยป้อนเอทานอลเข้มข้น 95.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ด้วย อัตราการป้อน 5.90, 7.86, และ 9.83 มิลลิลิตรต่อนาที ที่อุณหภูมิ 110 และ 130 องศาเซลเซียส ส่วนการทดสอบความสามารถในการคายซับไอน้ำ ได้ทำการทดสอบหาเส้นโค้งการคายซับในสภาวะสุญญากาศ -0.4 ถึง -0.3 บาร์ โดยป้อนเอทานอลไร้น้ำ ด้วยอัตราการป้อน 0.98, 1.97 และ 2.95 มิลลิลิตรต่อนาที ที่อุณหภูมิ 110 และ 130 องศาเซลเซียส วิธีการวิจัยได้มีการนำวัสดุจากท้องถิ่นชนิดต่างๆ มาทำการทดสอบเบื้องต้นโดยทดลองหาเส้นโค้งการดูดซับไอน้ำเปรียบเทียบกับเส้นโค้ง การดูดซับไอน้ำของโมเลกุลาร์ซีฟ 3A พบว่า เมล็ดข้าวโพดข้าวเหนียวผ่าซีก และวัสดุผสมเถ้าลอยถ่านหินกับปูนซีเมนต์ มีความสามารถในการดูดซับไอน้ำจากไอผสมเอทานอลและน้ำ จึงได้นำมาทำการทดสอบหาความสามารถในการดูดซับและคายซับไอน้ำที่สภาวะต่างๆ เช่นเดียวกันกับการทดสอบโมเลกุลาร์ซีฟ 3A. จากผลการทดสอบพบว่า ความจุในการดูดซับไอน้ำของโมเลกุลาร์ซีฟ 3A จะมากกว่าเมล็ดข้าวโพดข้าวเหนียวผ่าซีก 2.9 เท่า และมากกว่าวัสดุผสมเถ้าลอยถ่านหินกับปูนซีเมนต์อัตราส่วน 3 ต่อ 1 โดยปริมาตร 7.4 เท่า สารดูดซับทั้งสามชนิดนี้สามารถทำให้เอทานอลเข้มข้นได้ถึง 99.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักและสามารถใช้เอทานอลไร้น้ำป้อนเข้าเพื่อทำการคายซับไอน้ำได้เช่นเดียวกัน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2012/1461
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2012/1461-2
Browsing วว. เทคโนธานี shelves, Shelving location: วว. เทคโนธานี Close shelf browser
ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก ไม่มีภาพปก
การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อแก้ไขปัญหาอาการไส้สีน้ำตาลในผลสับประรดสดเพื่อการส่งออก = การพัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากข้าวที่ไม่มีแอลกอฮอล์ = development of production process for non-alcoholic rice beverage / การพัฒนากระบวนการผลิตเอทานอลไร้น้ำโดยใช้ Membrane หรือ Molecular Sieve = development of anhydrous ethanol process by using membrane or molecular sieve / การพัฒนากระบวนการผลิตเอทานอลไร้น้ำโดยใช้ Membrane หรือ Molecular Sieve = development of anhydrous ethanol process by using membrane or molecular sieve / การพัฒนาเทคโนโลยีในการแยกก๊าซไฮโดรเจนให้บริสุทธิ์ = development of technology for hydrogen purification / การพัฒนาเทคโนโลยีในการแยกก๊าซไฮโดรเจนให้บริสุทธิ์ = development of technology for hydrogen purification / การวิจัยและพัฒนาการผลิตแอลฟากลูโคซิลกลีเซอรอลเพื่อการลดน้ำหนักอย่างปลอดภัย = research and development of alpha glucosyl glycerol production for safety losing weight /

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300