การสำรวจการใช้พืชวัตถุดิบเพื่อการวิจัยและพัฒนาเวชสำอางจากพืชสมุนไพร = utilized conservation of raw material plants for research and development on cosmeceutical products from medicinal plants / Tanes teachasean ...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Anun, Vathakan | Chaiwattananont, Rungthip | Laohakul, Kulnatee | Sirirat, Pitcha | Teachasean, Tanes | ธเนส เตชะเสน | กุลนที เลาหะกุล | รุ่งทิพย์ ชัยวัฒนานนท์ | ศิริรัตน์, พิชชา | อนันต์, เวธการ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. 52-12/Sub. Proj. no. 3ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2011 รายละเอียดตัวเล่ม: จ, 245 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การสำรวจการใช้พืชวัตถุดิบเพื่อการวิจัยและพัฒนาเวชสำอางจากพืชสมุนไพรหัวเรื่อง: Acne | Anti-melasma agent | Anti-seborrheic dermatitis | Anti-wrinkle agent | Cosmetics -- Marketing | Hypertrophic scars | Keloid | Medicinal plants | Skin tonic | Skin whiteningสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover สาระสังเขป: Various medicinal plants as raw materials were studied for R & D on cosmeceuticals for skin whitening and/or anti-melasma agent, anti-wrinkle, anti-seborrheic dermatitis, acne curing, prevention of keloid and hypertrophic scars, skin tonic. Cosmeceuticals and cosmetics marketing studies were also included.สาระสังเขป: การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการสำรวจการใช้พืชวัตถุดิบเพื่อการวิจัยและพัฒนาเวชสำอางประเภทผลิตภัณฑ์ผิวขาวและขจัดฝ้า ผลิตภัณฑ์รักษาสิว ผลิตภัณฑ์ต้านริ้วรอยผลิตภัณฑ์รักษาโรคผิวหนังอักเสบบนหนังศีรษะจากรังแค ผลิตภัณฑ์ป้องกันการเกิดแผลเป็นนูน ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว ตลอดจนศึกษาสถานการณ์การตลาดเวชสำอาง เครื่องสำอางธรรมชาติ เครื่องสำอางสมุนไพร ผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้า แชมพูที่มีในท้องตลาด คลินิกสิวและเสริมความงามสาระสังเขป: ผลการศึกษาพบว่า พืชสมุนไพรส่วนใหญ่ที่ผู้ประกอบการนำมาใข้ในการผลิตภัณฑ์เวชสำอางขึ้นกับประเภทของเวชสำอาง เช่น ผลิตภัณฑ์ต้านริ้วรอย ส่วนใหญ่ผู้ประกอบการจะใช้ใบบัวบก, ว่านหางจระเข้; ผลิตภัณฑืรักษาสิว ส่วนใหญ่ใช้เปลือกมังคุด, ว่านหางจระเข้, แตงกวา ผลิตภัณฑ์ผิวหนังอักเสบเนื่องจากรังแค ส่วนใหญ่ใช้มะกรูด, มะคำดีควาย, ขิง; ผลิตภัณฑ๋ป้องกันแผลเป็นนูน ส่วนใหญ่ใช้หว่านหางจระเข้, ใบบัวบก, เมล็ดชา; ผลิตผลิตภัณฑ์บำรุงผิวส่วนใหญ่ใช้ ขมิ้นชัน, ว่างหางจระเข้ ชะเอมเทศ, โดยใช้วัตถุดิบในรูปแบบของ สารสกัด, ผง สดและแห้งซึ่งเป็นวัดถุติบที่หาได้ภายในประเทศ ในส่วนของการสำรวจวัตถุดิบของผู้ปลูก พบว่า พืชสมุนไพรส่วนใหญ่ที่เกษตรกรปลูกพืชจำหน่ายได้แก่ ตะไคร้, ไพล, ขมื้นชัน, ขมิ้น, มะกรูด และ ตะไคร้หอม, โดยขายในรูปแบบของวัตถุดิบสด, แห้ง และบดเป็นผง ซึ่งผู้ซื้อส่วนใหญ่อยู่ภายในประเทศ, โดยเฉพาะผู้ซื้อที่เป็นโรงพยาบาลในชุมชน หรือในจังหวัดที่เกษตรกรปลูกสมุนไพร, รวมถึงการจำหน่ายให้ผู้ซื้อรายเดียวในลักษณะการทำเกษตรแบบมีพันธสัญญา (Contract Farming) ของมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ ซึ่งจะรับประกันราคาและปริมาณที่รับซื้อในแต่ละปี นอกจากนี้ จากผลการสำรวจจะเห็นได้ว่า สมุนไพรที่เกษตรกรปลูก จะเน้นสรรพคุณสำหรับทำยาแผนโบราณ
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2011/1469

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300