โครงการวิจัยและพัฒนาดินพรุเพื่อประโยชน์ทางอุตสาหกรรม : การวิจัยการผลิตถ่านกัมมันต์จากดินพรุในห้องปฎิบัติการ = development of peat soil for utilization in industry : investigation on production of activated carbon from peat soils in laboratory / Kesara Nutalaya ... [et al.]

ผู้แต่งร่วม: Arunyanak, Silpachai | Mata, Permsuk | Nutalaya, Kesara | Peujantuk, Tasanee | Sriwanawit, Jit | Sthapitanonda, Kannika | Thakunmahachai, Boonchai | ทัศนีย์ เพ้ยจันทึก | บุญชัย ตระกูลมหชัย | เกศรา นุตาลัย | เพิ่มสุข มาทะ | จิตต์ ศรีวรรณวิทย์ | กรรณิการ์ สถาปิตานนท์ | ศิลปชัย อรัญยะนาค | Thailand Institute of Scientific and Technological Research Chemical Industry Department Chemical Formulation and Processing Lab
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 30-14 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 1988 รายละเอียดตัวเล่ม: 80 p.ชื่อเรื่องอื่นๆ: Investigation on production of activated carbon from peat soils in laboratory | โครงการวิจัยและพัฒนาดินพรุเพื่อประโยชน์ทางอุตสาหกรรม | การวิจัยการผลิตถ่านกัมมันต์จากดินพรุในห้องปฎิบัติการหัวเรื่อง: Activated carbon | Narathiwat | Peat soils | Superheated steam activation technique | ZnCI activation techniqueสารสนเทศออนไลน์: Click here to access full-text สาระสังเขป: From the result of the experiments, it was found that activated carbon produced from peat soils with high fixed carbon and low ash using soils and ZnCl chemical ratio of 1:4, activation temperature of 600 degree celsius and time of more than 0.5 hr would possess good properties comparable to commercial ones, i.e. iodine no. 1,200-1,300 or more mg/g, methylene blue adsorption 200-300 or more mg/g, particle surface area 1,200-1,500 or mor m /g. Besides, these activated carbons also consisted of fixed carbon as high as 80-90 per cent, S content lower than 0.06 per cent and pH ranged between 2-3 which could be adjusted by using basic solutions. For activated carbon from superheated steam activation which had to be pressed into granular possessed lower quality i.e. activated carbon passing through superheated steam at 900 degree cesius for 4 hr would have iodine no. of about 1,200 mg/g, methylene blue adsorption of 296 mg/g and particle surface area of 881 m /g. Moreover, it was also noticed that the percentage yield of activated carbon produced from steam activation was very low (8 per cent) compared with the ones activated by ZnCl chemical (49-54 per cent).สาระสังเขป: Peat soils from Bacho swamp in Narathiwat Province were used to produce activated carbon on laboratory scale at Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) applying either ZnCl activation or superheated steam activation technique. Common activation parameters used were temperature and time. Variation on ratio of soils and ZnCl chemical was also tested for ZnCl activation technique. Activated carbon properties tested in the laboratory included iodine no., methylene blue adsorption, particle surface area (B.E.T.), proximate analysis, S content, moisture, bulk density, pH and also particle size distribution only for activated carbon produced from superheated steam method.สาระสังเขป: TISTR also used produced activated carbons to decolourize molasses solutions and vegetable oils to compare with commercial activated carbons. Machines and equipment for producing activated carbon from peat soils using ZnCl activation technique at pilot plant scale of 50-100 kg activated carbon per day are also listed. The results from the pilot plant experiments would reveal the feasibility of the technology on technical, economical and environment aspects for further industrial transfer. Authors.สาระสังเขป: จากผลการทดลองดังกล่าวพบว่า ถ่านมันมันต์ซึ่งผลิตจากดินพรุที่มีค่า fixed carbon สูง, ค่าเถ้าดำ, และใช้อุณหภูมิเมื่อกระตุ้นด้วยสารเคมีอัตราส่วน 1:4 ที่ 800 องศาเซลเซียส และเวลามากกว่า 0.5 ชม. จะมีคุณสมบัติดีเทียบเท่าถ่านกัมมันต์ในเชิงการค้าทั่วไป กล่าวคือ มีค่า iodine no. 1,200-กว่า 1,300 มก./ก., methylene blue adsorption 200-กว่า 300 มก./ก., พื้นที่ผิวอนุภาค 1,200-กว่า 1,500 ม.2./ก. นอกจากนี้ยังวิเคราะห์พบว่า ถ่านกัมมันต์เหล่านี้มี fixed carbon สูงระหว่างร้อยละ 80-90, และมีปริมาณ S ต่ำกว่าร้อยละ 0.06, ส่วน Hp อยู่ระหว่าง 2-3 ซึ่งสามารถปรับเพิ่มขึ้นได้โดยใช้สารละลายด่าง. สำหรับถ่านมันมันต์ซึ่งผ่านการกระตุ้นด้วยไอน้ำยิ่งยวดโดยต้องอัดเป็นเม็ดก่อนกระตุ้น จะมีคุณสมบัติต่ำกว่า กล่าวคือถ่านกัมมันต์ซึ่งกระตุ้นด้วยไอน้ำยิ่งยวดที่ 900 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 ชม. จะมีค่า iodine no. ประมาณ 1,200 มก./ก., methylene blue sdsorption 296 มก./ก. และพื้นที่ผิวอนุภาค 881 ม2./ก. นอกจากนี้ยังพบว่า yield ของการกระตุ้นด้วยไอน้ำจะได้น้อยมากเพียงร้อยละ 8 เมื่อเทียบกับร้อยละ 8 เมื่อเทียบกับร้อยละ 49-54 ของการกระตุ้นด้วยสารเคมี ZnC1 2.สาระสังเขป: วท. ได้ทดลองนำถ่านมันมันต์ที่ผลิตได้ไปฟอกสีสารละลายน้ำตาล และน้ำมันพืชเปรียบเทียบกับถ่านมันมันต์ในท้องตลาด และจัดทำรายการอุปกรณ์และเครื่องมือเพื่อใช้ในการผลิตถ่านมันมันต์จากดินพรุในขึ้นโรงงานต้นแบบ ขนาด 50-100 กก. ถ่านมันมันต์/วัน โดยวิธีกระตุ้นด้วยสารเคมี ZnC1 2 เพื่อรวบรวมข้อมูลศึกษาความเป็นไปได้ในเชิงเทคนิค เศรษฐศาสตร์และสิ่งแวดล้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีนี้สู่ขั้นอุตสาหกรรมต่อไป. - ผู้แต่ง.สาระสังเขป: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ได้ทดลองนำดินจากพรุบาเจาะ จ.นราธิวาส มาทดลองผลิตถ่านกัมมันต์ในห้องปฏิบัติการ โดยใช้วิธีกระตุ้นด้วยสารเคมี ZnC1 2 หรือวิธีกระตุ้นด้วยไอน้ำยิ่งยวด. ตัวแปรรวมซึ่งใช้ในการกระตุ้นก็คือ อุณหภูมิและเวลา. สำหรับการกระตุ้นด้วยสารเคมี ZnC1 2 มีตัวแปรอัตราส่วนของดินต่อสารเสมีด้วย. คุณสมบัติของถ่านกัมมันต์ที่วิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการได้แก่ค่า iodine no., methylene blue adsorption, พื้นที่ผิวอนุภาค (B.E.T.) , proximate analysis, ปริมาณ S, ความชื้น, ความหนาแน่นเชิงปริมาตร และ pH. สำหรับถ่านซึ่งกระตุ้นด้วยไอน้ำนั้น จะมีการวิเคราะห์หา particle size distribution ด้วย.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP1988/790
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP1988/790-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300