การวิจัยการบำบัดน้ำเสียแบบต่อเนื่องและการใช้ประโยชน์ของก๊าซชีวภาพและปุ๋ยหมักแบบครบวงจร = the study of continuous wastewater treatment and the completely use biogas and composting / ...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Angkhana Ketkeaw | Annop Chatamra | Kannitha Krongthamchat | Nuttawoot Boonliam | Pattacharee Jaiaun | Savitree Chaiwiset | Somchai Dararat | Spol Boonman | Tavesak Homdokmi | โสภณ บุญมั่น | กาญนิถา ครองธรรมชาติ | ณัฐวุฒิ บุญเลี่ยม | ทวีศักดิ์ หอมดอกไม้ | พัทจารี ใจอุ่น | สมชาย ดารารัตน์ | สาวิตรี ชัยวิเศษ | อรรณพ จาฏามระ | อังคณา เกตุแก้ว | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 50-08, Sub Proj. no. 5; Rep. no. 1(final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2011 รายละเอียดตัวเล่ม: ช, 118 p. : tables, ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การวิจัยการบำบัดน้ำเสียแบบต่อเนื่องและการใช้ประโยชน์ของก๊าซชีวภาพและปุ๋ยหมักแบบครบวงจรหัวเรื่อง: Biogas | Compost | Waste utilization | Waste water | Water treatmentสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The aim of this research was to investigate the use of the swine farm effluent from an anaerobic treatment process as a nutrient solution in a hydroponics culture with Nutrient Film Technique (NFT). The study of the lettuce growth divided to 2 parts. Part 1 was the growth of lettuce (Red Oak) in the commercial nutrient solution (Treatment 1). Treatment 1 was compared to the growth of lettuce which feed on the swine farm effluent in Treatment 2, 3 and 4. The nutrient solution in Treatment 2, 3 and 4 had Total Kjeldahl Nitrogen (TKN) concentration of 230 mg/L, 240 mg/L and 250 mg/L, respectively. The results showed that Red Oak in Treatment 1 was the highest growth. It meaned that it had more fresh and dry weight than other treatments. This indicated that the lettuce grew better on commercial nutrient solution than the swine farm effluent which had TKN concentration of 240, 230 and 250 mg/L. Treatment 3 had the highest efficiency to treat TKN (87.95 percent), COD (60.00 percent), and BOD (28.08 percent). In addition, the highest efficiency to treat TP (88.13 percent), TS (31.92 percent) and SS (84.43 percent) was found in Treatment 1. In Part 2, the experiment designed to plant the lettuce (Red Oak) in commercial nutrient solution (Treatment 1) compared with mixed solution of the swine farm effluent from anaerobic treatment process and commercial nutrient solution in the ratio of 50 : 50 (Treatment 2) and 75 : 25 (Treatment 3). The fresh and dry weight from Treatment 1 showed significantly difference from other Treatments. The result showed that the lettuce grew better on commercial nutrient solution than any other mixed solutions. Treatment 1 had the highest efficiency to treat TKN (66.67 percent), COD (33.00 percent), TS (33.62 percent) and SS (80 percent). Treatment 3 had the highest efficiency to treat TP (99.27 percent). Treatment 2 had the highest efficiency to treat BOD (58.81 percent). The results indicated that three eggs of helminth Ascaris suum per millilitre of the swine farm wastewater were found. After the swine effluent was passed to sand filter, helminth Ascaris suum eggs were not found. The results also showed that the composition of the swine farm effluent had macronutrient and micronutrient elements completely, except sulphur (S). From these 2 experimental parts, it was able to summary that the swine farm effluent from an anaerobic treatment process could not compensate commercial nutrient solution. However, the mixed solution of the swine farm effluent from anaerobic treatment process and commercial nutrient solution in the ratio of 50 : 50 had the tendency to make the lettuce growth better than that of the swine farm effluent as sole nutrient solution.สาระสังเขป: การศึกษาการเจริญเติบโตของผักกาดหอมแบ่งการทดลองเป็น 2 ชุดการทดลอง ได้แก่ ชุดการทดลองที่ 1 เป็นการเจริญเติบโตของผักกาดหอมที่ปลูกด้วยสารละลายน้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรเพียงอย่างเดียว ที่ระดับความเข้มข้นของปริมาณทีเคเอ็นแตกต่างกัน คือ 230 มก./ลิตร (กลุ่มทดลองที่ 2), 240 มก./ลิตร (กลุ่มทดลองที่ 3 ) และ 250 มก./ลิตร (กลุ่มทดลองที่ 4) เปรียบเทียบกับการเจริญเติบโตของผักกาดหอมที่ปลูกในสารละลายการค้า (กลุ่มทดลองที่ 1) พบว่า ผักกาดหอมที่ปลูกด้วยสารละลายการค้ามีการเจริญเติบโตมากที่สุด คือ น้ำหนักสดและน้ำหนักแห้งมากที่สุด แตกต่างกับอีก 3 กลุ่มทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การศึกษาประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียในชุดการทดลองที่ 1 พบว่า กลุ่มทดลองที่ 3 มีประสิทธิภาพสูงสุดในการบำบัดค่าที่เคเอ็น (ร้อยละ 87.95) ค่าซีโอดี (ร้อยละ 60) และค่าบีโอดี (ร้อยละ 28.08) กลุ่มทดลองที่ 1 มีประสิทธิภาพสูงสุดในการบำบัดค่าฟอสฟอรัสทั้งหมด (ร้อยละ 88.13) ค่าของแข็งทั้งหมด (ร้อยละ 31.92) และค่าของแข็งแขวนลอย (ร้อยละ 84.43) ชุดการทดลองที่ 2 เป็นการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการประยุกต์ใช้น้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรในการปลูกพืชระบบไฮโดรโพนิกส์ โดยศึกษาการเจริญเติบโตของผักกาดหอมที่ปลูกด้วยสารละลายน้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรผสมกับสารละลายการค้าในอัตราที่แตกต่างกัน ได้แก่ อัตรา 50 : 50 (กลุ่มทดลองที่ 2) และอักตรา 75 : 50 (กลุ่มทดลองที่ 3) เปรียบเทียบกับการเจริญเติบโตของผักกาดหอมที่ปลูกในสารละลายการค้าเพียงอย่างเดียว (กลุ่มทดลองที่ 1) พบว่า ผักกาดหอมที่ปลูกด้วยสารละลายการค้าเจริญเติบโตมากที่สุด คือ นืหนักสดและน้ำหนักแห้งมากที่สุด แตกต่างกันกับอีก 2 กลุ่มทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ รองลงมาคือปลูกในสารละลายน้ำทิ้งผสมกับสารละลายการค้าอัตรา 50 : 50 และอัตรา 75 : 50 การศึกษาประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียในชุดการทดลองที่ 2 พบว่า กลุ่มทดลองที่ 1 มีประสิทธิภาพสูงสุดในการบำบัดค่าทีเคเอ็น (ร้อยละ 66.67) ค่าซีโอดี (ร้อยละ 33) ค่าของแข็งทั้งหมด (ร้อยละ 33.62) และค่าของแข็งแขวนลอย (ร้อยละ 80) กลุ่มทดลองที่ 3 มีประสิทธิภาพสูงสุดในการบำบัดค่าฟอสฟอรัสทั้งหมด (ร้อยละ 99.27) และกลุ่มทดลองที่ 2 มีประสิทธิภาพสูงสุดในการบำบัดค่าบีโอดี (ร้อยละ 58.81).สาระสังเขป: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการใช้น้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรที่ผ่านกระบวนการบำบัดแบบไม่ใช้อากาศในการทดแทนสารละลายในการปลูกพืชระบบไฮโดรโพนิกส์ ในรางปลูกแบบ Nutrient Film Technique (NFT).สาระสังเขป: จากการศึกษาทั้ง 2 ชุดการทดลอง สรุปได้ว่า น้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรไม่สามารถนำมาทดแทนสารละลายการค้าได้ แต่การใช้น้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรกับสารละลายการค้า ในอัตรา 50 : 50 มีแนวโน้มให้ผลผลิตผักกาดหอมมากกว่ากลุ่มการทดลองอื่นที่ใช้น้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรเป็นสารละลายธาตุอาหาร. - ผู้แต่ง.สาระสังเขป: น้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรที่ผ่านกระบวนการบำบัดแบบไม่ใช้อากาศ มีจำนวนไข่หนอนพยาธิไส้เดือน Ascaris suum 3 ฟอง/มล. ของน้ำทิ้งจากฟาร์มสุกร เมื่อน้ำทิ้งมากรองด้วยถังกรองทราย และนำมาตรวจนับไข่พยาธิจะไม่พบไข่หนอนพยาธิ การศึกษาปริมาณธาตุอาหารพืชในน้ำทิ้งจากฟาร์มสุกรที่ผ่านกระบวนการบำบัดแบบไม่ใช้อากาศ พบว่า มีธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองครบทุกธาตุ ยกเว้นธาตุกำมะถัน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2011/1435
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2011/1435-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300