การศึกษาลักษณะดินและการจัดการดินเพื่อเพิ่มผลผลิตไพล = characteristics of soils and their management for Phlai's yield improvement / Winai Supstsnakul...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Boonfak, Chaiwat | Chindachi, Rewat | Reak-am, Ubol | Sittichoketram, Krich | Supstsnakul, Winai | Thubthimthed, Sirinan | Ungvichian, Ittirit | เรวัตร จินดาเจี่ย | รัตนศิริ จิวานนท์ | ศิรินันท์ ทับทิมเทศ | บุญฟัก, ชัยวัตร | อุบล ฤกษ์อ่ำ | สิทธิโชคธรรม, กริช | วินัย สุพัฒนกุล | อิทธิฤทธิ์ อึ้งวิเชียร | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-21, Sub Proj. no. 4 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2011 รายละเอียดตัวเล่ม: ซ, 59 p. : tables, col. ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาลักษณะดินและการจัดการดินเพื่อเพิ่มผลผลิตไพลหัวเรื่อง: Phlai -- Planting | Soil management | Zingiber montanumสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Study was made to evaluate suitable plantation area and technology to increase rhizome yield for 3 varieties Phlai (Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr.) varieties including two indigeneous varieties (cv. Thomg Pha Phum and cv. Wan Nam Yen) and one commercially grown variety (cv. Yuak) at 2 and 3 years harvesting season. Highest yield was obtained from a fertile soil with well drainage in the Northern region especially in Chaing mai followed by a Central region. North eastern area produced a moderate to low yeild. Long rainy season on the southern part have disadvantage for the production. Organic fertilizer has small response to the yield of all 3 varieties. Higher yield was obtained from plant at 75x50 cm. spacing followed by 25x50 and 50x50 cm. spacing. Lowest active compound, terpinene-4-o1, which was under TISTR standard was obtained from cv. Yuak. - Authors.สาระสังเขป: ได้ทำการศึกษาพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับปลูกไพล และเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตเหง้าสดของไพลสามสายพันธุ์ คือ พันธุ์พื้นเมืองทองผาภูมิ วังน้ำเย็น และพันธุ์หยวก ที่อายุการเก็บเกี่ยว 2 และ 3 ฤดูกาล พบว่า พื้นที่ที่เหมาะสมซึ่งเป็นที่ดินมีความอุดมสมบูรณ์ การระบายน้ำดี มีภาคเหนือ ที่จังหวัดเชียงใหม่ รองลงมาภาคกลาง สำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยู่ในระดับต่ำถึงปานกลาง แต่ภาคใต้มีปัญหาเกี่ยวกับปริมาณฝนที่มียาวนาน สำหรับเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต โดยการศึกษาการใส่ปุ๋ย 4 อัตรา คือ ไม่ใส่ ใส่ 0.5, 1 และ 2 ตัน/ไร่ และระยะปลูก 3 ระยะ คือ 25x25, 50x50 และ 75x50 ซม. พบว่า ไพลมีการตอบสนองต่อปุ๋ยอินทรีย์น้อย โดยพันธุ์หยวกมีแนวโน้มให้ผลผลิตสูงและที่ระยะปลูก 75x50 ซม. มีแนวโน้มให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อกอสูงกว่า ระยะปลูก 25x25 และ 50x50 ซม. และปริมาณองค์ประกอบของเคมีในสายพันธุ์ไพลทั้ง 3 พันธุ์ ไม่น่าขึ้นกับอัตราการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ โดยพันธุ์หยวก ทุกอัตราการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ มีปริมาณสาร Terpinene-4-o1 ไม่ผ่านมาตรฐานสารสำคัญของ วว. ทั้งที่อายุการเก็บเกี่ยว 2 และ 3 ฤดูกาล. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2011/1424
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2011/1424-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300