การคัดเลือกสายพันธุ์จุลินทรีย์สำหรับการผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากขยะเศษอาหาร = isolation of microorganism for hydrogen production from food wastes / Patthanant Natpinit, Preecha Ploypatarapinyo, Rewadee Anuwattana

โดย: Natpinit, Patthanant
ผู้แต่งร่วม: Anuwattana, Rewadee | Ploypatarapinyo, Preecha | นาถพินิจ, พัทธนันท์ | ปรีชา พลอยภัทรภิญโญ | เรวดี อนุวัฒนา | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-20, Sub Proj. no. 4 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2011 รายละเอียดตัวเล่ม: ซ, 67 p. : tables, col. ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การคัดเลือกสายพันธุ์จุลินทรีย์สำหรับการผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากขยะเศษอาหารหัวเรื่อง: Clostridium acetobutyricum | Clostridium botulinum | Clostridium perfringens | Clostridium tyrobutyricum | Hydrogen | Microorganisms | Waste utilizationสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The objective of this investigation was to isolate the microorganisms for hydrogen production from food wastes. The seed sludge was anaerobic and in granular form in the UASB from SermSuk Public Co., Ltd. In aceordavce with primary treatment, the anaerobic granule was divided into 3 samples : no treatment (blank), boiling at 90 deress celsius for 15 min, and adjusting pH 4.3-4.5 for 1 month. For the first and second samples, the H2 - producing bacteria could be isolated at 14 and 6 colonies, respeclively, of which 3 and 2 colonies were chosen to identify the species. The species of H2-producing bacteria were Clostridium, spp. such as Clostridium acetobutyricum chosen as starting seed sludge, Clostridium perfringens, Clostridum tyrobutyricum and Clostridum botulinum. The MLSS of hydrogen forming bacteria were 92,216 mg/l with 0.5 liters. The reactor was of upflow anaerobic fixed bed (UAFB) with 15 pieces of polyethylene media having a diameter of 4 cm and 4 cm in height each. In this study, the diluted wastewater that had the maximum influent COD of 52,395 mg/l was used by staring COD loading rate from 20 to 30 kgCOD/m².d at HRT 1 day while pH was maintained at 4.3-4.5. The average gas production rates were 0.15 and 0.19 L-H2/gCODr.d, respectively. The percentage of hydrogen was 44% and 34%, respectively. F/M for hydrogen production was started from 1.23 to 1.53 gCOD/gVSS. The ratio of VFAeff/inf was 4.20 and 3.50 respectively. The ratio of butyric and acetic (C4/C2) was nearly 1.0. On the contrary, the ratio of propionic and acetic (C3/C2) was equal or less than 0.1. The C4/C2 ratio indicated the performance of hydrogen production.- Authors.สาระสังเขป: โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกสายพันธุ์จุลินทรีย์สำหรับการผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากขยะเศษอาหาร. เชื้อจุลินทรีย์ที่ใช้เป็นเม็ดตะกอนจุลินทรีย์ในระบบยูเอเอสบีของ บริษัท เสริมสุข จำกัด(มหาชน) ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มตัวอย่างตามการบำบัดขั้นต้น ได้แก่ กลุ่มไม่มีการบำบัด (กลุ่มอ้างอิง), กลุ่มที่ผ่านการบำบัดด้วยการต้มที่ 90 องศาเซลเซียส 15 นาที และกลุ่มที่ผ่านการปรับพีเอชที่ 4.3-4.5 เป็นเวลา 1 เดือน. ใน 2 กลุ่มตัวอย่างแรกสามารถคัดแยกสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่ผลิตก๊าซไฮโดรเจนได้ 14 และ 6 โคโลนี, ตามลำดับ โดยเลือก 3 และ 2 โคโลนีไปจำแนกสายพันธุ์จุลินทรีย์ ซึ่งจัดว่าเป็นกลุ่ม Clostridium spp. ได้แก่ Clostridium acetobutyricum (ที่ถูกเลือกไปใช้ในระบบต่อเนื่อง), Clostridum perfringens, Clostridium tyrobutyricum และ Clostridium botulinum. ปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ที่ใช้ 92,216 มก./ล. ที่ปริมาตร 0.5 ลิตร. ถังหมักออกแบบเป็นระบบตรึงฟิลม์แบบไหลขึ้น ซึ่งมีตัวกลางที่ทำด้วยพลาสติกพอลิเอทิลีนที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 ซม. และสูง 4 ซม. จำนวน 15 ชิ้น. ในการทดลองนี้ได้เจือจางน้ำเสียเศษอาหารโดยมีซีโอดีสูงสุดที่ 52,395 มก./ล. และเริ่มป้อนน้ำเสียที่อัตราภาระรับซีโอดี 20-30 กก.ซีโอดี/ลบ.ม.-วัน ที่ระยะเวลาเก็บกัก 1.0 วัน และรักษาระดับพีเอชที่ 4.3-4.5, อัตราการเกิดก๊าซเฉลี่ย เป็น 0.15 และ 0.19 ล. ไฮโดรเจน/ก.ซีโอดีที่ถูกกำจัด-วัน. ร้อยละก๊าซไฮโดรเจนเป็น 44 และ 34, ตามลำดับ. อัตราส่วนของอาหารและจุลินทรีย์เริ่มต้นที่ 1.23 ถึง 1.53 ก. ซีโอดี/ก.วีเอสเอส. อัตราส่วนของกรดอินทรีย์ออกและเข้าเป็น 4.20 และ 3.50, ตามลำดับ. อัตราส่วนของกรดบิวทิริกและกรดแอซีติก ควรมีค่าใกล้เคียง 1.0. ในทางตรงกันข้ามอัตราส่วนของกีดโพรไพโอนิกและกรดแอซีติกมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.1 ซึ่งอัตราส่วนกรดบิวทิริกและกรดแอซีติกถือว่าเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพการผลิตก๊าซไฮโดรเจน. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2011/1405
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2011/1405-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300