การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของไพล = study on genetic diversity of Phlai / Ittirit Ungvichian...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Chaidaroon, Somnuk | Ruangwatcharaporn, Jamlongluk | Supatanakul, Winai | Ungvichian, Ittirit | จำลองลักษณ์ เรืองวัชราภรณ์ | สมนึก ชัยดรุณ | วินัย สุพัฒนกุล | อิทธิฤทธิ์ อึ้งวิเชียร | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 49-21, Sub Proj. no. 2 ; Rep. no. 1 (Final report)ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2011 รายละเอียดตัวเล่ม: ง, 59 p. : tables, ill (some col.) ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของไพลหัวเรื่อง: Amplified fragment length polymorphism | Genetic variation | Medicinal plants | Phlai | Zingiber cassumunar | Zingiberaceaeสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Phlai (Zingiber cassumunar Roxb) belongs to family Zingiberaceae. This medicinal plant has rhizome as a storage organ which can be used in the pharmaceutical industry as raw material of medicine for anti-inflammatory effect, swollenness, and muscular stiffness. This research was carried out by surveying and collecting about 200 accessions from many regions of Thailand. The 125 accessions have been extracted and identified for their DNA fingerprints. The Amplified Fragment Length Polymorphism (AFLP) technique was used to assess the genetic variation. The correlations were analyzed and classified to correspond with genetic groups. The results of the study showed that all 92 accessions of Phlai could be identified into 4 groups while the genetic segregation between accessions in the same group could be observed. From this study, the results were also revealed that there was a large genetic diversity of Zingiber cassumunar Roxb. in Thailand, and these widely genetic resources could be highly benefited for the development and improvement of Phlai variety in the future. - Authorsสาระสังเขป: จากการสำรวจและรวบรวมสายพันธุ์ไพลที่พบในแหล่งปลูกต่างๆ ในประเทศไทย, สามารถเก็บได้ประมาณ 200 ตัวอย่าง. จากนั้นได้นำมาทำการศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอโดยวิธี AFLP เพื่อศึกษาความแปรปรวนและความหลากหลายทางพันธุกรรมของไพลที่พบ และเพื่อประโยชน์ในการอนุรักษ์, คัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์ไพลให้มีผลผลิตและคุณภาพของน้ำมันที่ดีขึ้น. จากตัวอย่างที่การสำรวจและรวบรวม, สามารถทำการสกัดดีเอนเอจากไพลเหลืองจำนวน 92 ตัวอย่าง, ไพลม่วง 15 ตัวอย่าง และพืชในกลุ่มไพล 18 ตัวอย่าง. ผลการวิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอของตัวอย่างไพลเหลืองเมื่อใช้ไพรเมอร์ 3 คู่ และทำการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม NTSYS pc 2.11, โดยอาศัยข้อมูลจาก 367 AFLP markers แล้วนำไปสร้างแผนภูมิความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมในรูปแบบ phylogenetic tree, โดยวิธี UPGMA (Unweighted Method with Arithmetic Mean) ทำให้สามารถแบ่งกลุ่มตามสัมพันธ์ของตัวอย่างไพลเหลืองได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ และในแต่ละกลุ่มก็ยังมีความแปรปรวนทางพันธุกรรมอยู่มากพอสมควร. ผลจากการศึกษาดังกล่าวสามารถใช้เป็นข้อมูลเพื่อใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาสายพันธุ์ไพลเพื่อให้มีณลักษณะที่ดีเด่นต่อไป. - ผู้แต่ง
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2011/1402
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2011/1402-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300