แปลงทดลองสาธิตวัสดุปรับปรุงดินจากสาหร่าย : การทดลองประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่ายในแปลงพืชผักสวนครัวของเกษตรกร = demonstration plot of soil conditioner from algae : 1. efficacy testing of algal soil conditioner on vegetables using grower's cultivation plots / Aparat Mahakhant...[et al.]

ผู้แต่งร่วม: Artjariyasripong, Suparp | Khantasopa, Suphansa | Kumyont, Arnont | Mahakhant, Aparat | Morpan, Charoenchai | สุพรรษา ขันธโสภา | อานนท์ คำยนต์ | อาภารัตน์ มหาขันธ์ | เจริญไชย หมอปาน | สุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์ | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 52-01 ; Rep. no. 1ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2010 รายละเอียดตัวเล่ม: ซ, 166 p. : tables, col. ill. ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: แปลงทดลองสาธิตวัสดุปรับปรุงดินจากสาหร่าย : การทดลองประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่ายในแปลงพืชผักสวนครัวของเกษตรกรหัวเรื่อง: Algae | Brassica alboglabra | Brassica camprestris | Brassica chenensis | Brassica oleracea | Lactuca sativa | Soil amendments | Soil conditioners | Vegetables | กะหล่ำปลี | ผัก | ผักกวางตุ้ง | ผักกาดหอม | ผักคะน้า | วัสดุปรับปรุงดิน | สาหร่ายสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: Furthermore, algal soil conditioner was also tested on yard long bean using completely randomized design of 8 treatments with 3 replications each. The treatment of which were 1) control (CT), 2) chemical fertilizer 46-0-0 at 20g/plant (1st addition) and 15-15-15 at 60 g/plant (2nd-4th addition), 3) algal soil conditioner at 200 g/plant (AS1), 4) algal soil conditioner at 300 g/plant (AS2), 5) algal soil conditioner at 200 g/plant combined with chemical fertilizer 46-0-0 at 20 g/plant (1st addition) and 15-15-15 at 60 g/plant (AS1C), 6) algal soil conditioner at 200 g/plant combined with chemical fertilizer 46-0-0 at 10 g/plant (1st addition) and 15-15-15 at 30 g/plant (AS!C/2), 7) algal soil conditioner at 300 g/plant combined with chemical fertilizer 46-0-0 at 20 g/plant (1st affition) and 15-15-15 at 60 g/plant (AS2C), 8) algal soil conditioner at 300 g/plant combined with chemical fertilizer 46-0-0 at 10 g/plant (1st addition) and 15-15-15 at 30 g/plant (AS2C/2).สาระสังเขป: In case of cabbage, the addition of AS1C/s was the most effective on vegetable production and VCR, while the application of AS2C showed its most effectiveness on improvement of soil properties.สาระสังเขป: It was found that AS1C showed the most effective on productivity and VCR almost similar to the addition of chemical fertilizer alone, while AS2C/2 expressed its best performance on improvement of soil properties.สาระสังเขป: The efficiency tests of algal soil conditioner on vegetables were performed using agriculturists' cultivation plots in Amphoe Muang Nakhon Ratcha Sima, Nakhon Ratcha Sima province. Completely design of 8 treatments with 3 replications each was applied for on Pakchoi (Brassica chinensis), lettuce (Lactuca sativa), Chinese kale (Brassica alboglabra), Pakchoi (Mustard) (Brassica camprestris) and cabbage (Brassica oleracea). The treatments of which were 1) control (CT), 2) chemical fertilizer 46-0-0 at 200 kg/rai and 16-16-16 at 80 kg/rai (C), 3) algal soil conditioner 500 kg/rai (AS1), 4) algal soil conditioner 1,000 kg/rai (AS2), 5) algal soil conditioner 500 kg/rai combined with chemical fertilizer 46-0-0 at 200 kg/rai and 16-16-16 at 80 kg/rai (AS1C), 6) algal soil conditioner 500 kg/rai combined with chemical fertilizer 46-0-0 at 100 kg/rai and 16-16-16 at 40 kg/rai (AS1C/2), 7) algal soil conditioner 1,000 kg/rai combined with chemical fertilizer 46-0-0 at 200 kg/rai and 16-16-16 at 80 kg/rai (AS2C), 8) algal soil conditioner 1,000 kg/rai combined with chemical fertilizer 46-0-0 at 100 kg/rai and 16-16-16 at 40 kg/rai (AS2C/2).สาระสังเขป: The results revealed that AS!C/2 was the most effective on both vegetable production and improvement of soil properties on Pakchoi, lettuce, Chinese kale, and Pakchoy (Mustard). In addition, the value to cost ratio (VCR) of using algal soil conditioner was much better than that of the application of chemical fertilzer alone.สาระสังเขป: แปลงทดสอบปุ๋ยกะหล่ำปลี พบว่า AS1C/2 มีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิตและให้ค่าผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงกว่าการใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว ขณะที่ AS2C มีประสิทธิภาพในการปรับปรุงดิน.สาระสังเขป: ทำการทดสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่ายในแปลงถั่วฝักยาวเช่นเดียวกัน โดยประกอบด้วย 8 ชุดการทดลอง จำนวน 3 ซ้ำ ได้แก่ 1) ชุดควบคุม (CT), 2) ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 ในอัตรา 20 กรัมต่อวัน (ครั้งที่ 1) และสูตร 15-15-15 ในอัตรา 60 กัมต่อต้น (ครั้งที่ 2-4)(C), 3) ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่ายในอัตรา 200 กรัมต่อต้น (AS1), 4) ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่าย ในอัตรา 300 กรัมต่อต้น (AS2), 5) ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่าย ในอัตรา 200 กรัมต่อต้น ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 ในอัตรา 20 กรัมต่อต้น (ครั้งที่ 1) และสูตร 15-15-15 ในอัตรา 60 กรัมต่อต้น (ครั้งที่ 2-4) (AS1C), 6) ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่าย ในอัตรา 200 กรัมต่อต้น ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 ในอัตรา 10 กรัมต่อต้น (ครั้งที่ 1) และสูตร 15-15-15 ในอัตราส่วน 30 กรัมต่อต้น (ครั้งที่ 2-4) (AS1C/2), 7) ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่าย ในอัตรา 300 กรัมต่อต้น ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 ในอัตรา 20 กัมต่อต้น (ครั้งที่ 1) และสูตร 15-15-15 ในอัตรา 60 กรัมต่อต้น (ครั้งที่ 2-4) (AS2C) และ 8 ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่าย ในอัตรา 300 กรัมต่อต้น ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 ในอัตรา 10 กรัมต่อต้น (ครั้งที่ 1) และสูตร 15-15-15 ในอัตรา 30 กรัมต่อต้น (ครั้งที่ 2-4) (AS2C/2).สาระสังเขป: ทำการทดสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่ายในแปลงพืชผักสวนครัวของเกษตรกร อ.เมืองนครราชสีมา ในผัก 5 ชนิด ได้แก่ ผักกวางตุ้งใบ, ผักกาดหอม, ผักคะน้า, ผักกวางตุ้งดอก และกะหล่ำปลี. โดยวางแผนการทดลองทางสถิติแบบ completely randomized design ประกอบด้วย 8 ชุดการทดลอง จำนวน 3 ซ้ำได้แก่ 1) ชุดควบคุม (CT), 2) ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 ในอัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่ และสูตร 16-16-16 ในอัตรา 80 กิโลกรัมต่อไร่ (C), 3) ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่ายในอัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่ (AS1), 4) ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่าย ในอัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ (AS2), 5) ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่าย ในอัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 ในอัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่ และสูตร 16-16-16 ในอัตรา 80 กิโลกรัมต่อไร่ (AS1C), 6) ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่ายในอัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 ในอัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ และสูตร 16-16-16 ในอัตรา 40 กิโลกรัมต่อไร่ (AS1C/2), 7) ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่ายในอัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยสูตร 46-0-0 ในอัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่ และสูตร 16-16-16 ในอัตรา 80 กิโลกรัมต่อไร่ (AS2C) และ 8) ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดินจากสาหร่าย ในอัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยสูตร 46-0-0 ในอัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ และสูตร 16-16-16 ในอัตรา 40 กิโลกรัมต่อไร่ (AS2C/s).สาระสังเขป: ผลการทดลอง พบว่า AS1C/2 เหมาะสมที่สุดต่อการผลิตผักกวางตุ้งใบ, ผักกาดหอม, ผักคะน้า และผักกวางตุ้งดอก เนื่องจากมีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิตและหรับปรุงดินในเวลาเดียวกัน ทั้งยังให้ค่าตอบแทนทางเศรษฐกิจที่สูงกว่าใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว.สาระสังเขป: ผลการทดลอง พบว่า AS1C มีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิตและให้ค่าตอบแทนทางเศรษฐกิจที่สูงใกล้เคียงกับการใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว ขณะที่ AS2C/2 มีประสิทธิภาพในการปรับปรุงดิน.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 1 RP2010/1386
General Book
วว. เทคโนธานี
Missing 2018-08-31 2 RP2010/1386-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300