เผยแพร่และส่งเสริมการใช้ระบบบำบัดน้ำเสียแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมฟอกย้อม = Textile wastewater treatment processes for water reuse promotion / Sawaeng Gerdpratoom...[et al.] (CONFIDENTIAL)

ผู้แต่งร่วม: Gerdpratoom, Sawaeng | Mongkoltalang, Boonteun | Suprapatpoka, Nara | Tangsongsuwan, Siriluc | Timyamprasert, Athitan | แสวง เกิดประทุม | ศิริลักษณ์ ตั้งทรงสุวรรณ์ | อธิษฐาน ทิมแย้มประเสริฐ | บุญเตือน มงคลแถลง | นรา สุประพัฒน์โภคา | Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Language: Thai ชื่อชุด: Res. Proj. no. 46-09, Sub. Proj. no. 4ข้อมูลการพิมพ์: Bangkok : Thailand Institute of Scientific and Technological Research, 2008 รายละเอียดตัวเล่ม: 41 p. : col. ill., tables ; 30 cm.ชื่อเรื่องอื่นๆ: เผยแพร่และส่งเสริมการใช้ระบบบำบัดน้ำเสียแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ในอุตสาหกรรมฟอกย้อมหัวเรื่อง: Recycling (Waste, etc.) | ระบบบำบัดน้ำเสีย | Textile industry | Waste water | Water reuse | Water treatmentสารสนเทศออนไลน์: Click here to access cover | Click here to access full-text สาระสังเขป: The result from promotion of textile wastewater treatment project, TTL Industry was interested in development of reuse wastewater treatment investment. At the present time, this project was delay because the economic was crisis. - Authors.สาระสังเขป: The results of textile wastewater treatment for reuse by integrated membrane system, immersed membrane and ozone were depolarization of textile waste water. It was found that the wastewater to pass the effluent of conventional waste water treatment, which are membrane process. That use ultra filtration and nanofiltration or reverse osmosis. These methods approximate 20-30% of total waste water. Therefore, reuse waste water are not more than 30% because the TDS of wastewater to exceed 3,000 mg/l. These are control by the regulation standard industrial waste water. Thus, the expenses were increased from 15-20 baht/m3 of treated wastewater.สาระสังเขป: The wastewater treatment from reactive dye by ozone was decolorizing reactive color about 60-70% and breakdown nonbiodegradable to biodegradable compound. It was treated by Bio - Treatment and membrane process. These had water reuse about 20-30%. Thus, the expenses of wastewater treatment are 13-23 baht/m3 of treated water.สาระสังเขป: Wastewater treatment from desizing process, which is glazed the yarn in spinning process by a chemical substance such as PVA. That was non biodegradable and not treats by Bio-treatment. Therefore, the waste water treatment divided in process treatment by ultra filtration process for PVA recovery. It reuse grazed the thread. The water was remained and desizing agent, which reuse in desizing process. This reduced total waster about 10-15% and COD about 5-10%. Thus the expenses of waste water treatment are reduced about 7-10 baht/m3 of treated water.สาระสังเขป: จากผลการเผยแพร่ระบบบำบัดน้ำเสียจากอุตสาหกรรมฟอกย้อมเพื่อการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ โดยใช้ระบบเนื้อเยื่อ (Integrated Membrane System) และระบบเมมเบรนจมตัว (Immersed Membrane) และการใช้โอโซน (Ozone) ในการกำจัดสีในน้ำเสียอุตสาหกรรมฟอกย้อมให้แก่โรงงานต่าง ๆ พบว่าในการบำบัดน้ำเสียอุตสาหกรรมฟอกย้อมเพื่อนำน้ำกลับมาใช้ซ้ำ สามารถนำน้ำเสียที่ผ่านระบบบำบัดที่มีอยู่นั้นมาผ่านระบบบำบัดด้วยกระบวนการเมมเบรน ซึ่งใช้กระบวนการกรองระบบอัลตราฟิลเตรชัน และระบบนาโนฟิลเตรชันหรือรีเวอร์ออสโมซิส, ซึ่งวิธีการนี้จะสามารถนำน้ำกลับมาใช้ได้ประมาณ 20-30% ของน้ำเสียทั้งหมด ทั้งนี้ถ้านำน้ำเสียกลับมาใช้ซ้ำมากกว่า 30% จะทำให้น้ำทิ้งมีค่าปริมาณสารละลาย (TDS) เกิน 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตรน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม จะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมจากกระบวนการบำบัดน้ำเสียปกติประมาณ 15-20 บาท ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพของน้ำเสีย (รวมค่าใช้จ่ายในการลงทุน) และการบำบัดแบบแยกส่วน ณ จุดใช้งาน (in process treatment) โดยการแยกน้ำเสียในกระบวนการผลิตน้ำเสียในส่วนที่ไม่สามารถบำบัดโดยกระบวนการบำบัดแบบปกติ คือสารตกตะกอนและการบำบัดทางชีวภาพ ได้นำมาบำบัดในกระบวนการทางเคมีและกระบวนการทางเมมเบรน การบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการลอกแป้ง (Desizing) สารเคมีที่เคลือบเส้นด้าย (Sizing agent) เช่น PVA จะเป็นสารที่ไม่ถูกย่อยสลายด้วยแบคทีเรีย (Non biodegradable), ซึ่งจะไม่สามารถบำบัดโดยวิธีการบำบัดทางชีวภาพได้ จึงควรแยกบำบัด ณ จุดใช้งานโดยกระบวนกรองอัลตราฟิลเตชันเพื่อแยกสาร PVA นำกลับไปใช้เคลือบเส้ยด้ายที่เหลือพร้อมสารลอกแป้ง (Desizing agent) สามารถนำกลับไปใช้ในระบบได้ การใช้กระบวนการนี้จะสามารถลดปริมาณน้ำเสียรวมได้ประมาณ 1015% และสามารถลดปริมาณค่า COD ในน้ำเสียลงได้ 5-10% ค่าใช้จ่ายในการบำบัด 7-10 บาท/ลูกบาศก์เมตร (รวมค่าลงทุน). นอกจากนี้การบำบัดน้ำเสียจากการย้อมสีรีแอกทีฟโดยการใช้โอโซนสามารถบำบัดน้ำเสียจากสีรีแอกทีฟจนสีลดลง 60-70% แล้วนำไปบำบัดต่อด้วยวิธีการบำบัดทางชีวภาพและโดยการใช้เมมเบรนสามารถนำน้ำกลับมาใช้ซ้ำได้ 20-30% โดยเสียค่าใช้จ่ายในการบำบัด 15-23 บาทต่อลูกบาศก์เมตร. จากการดำเนินการเผยแพร่ โรงงาน TTL จำกัด มหาชน มีความสนใจที่จะดำเนินการลงทุนพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อการนำน้ำกลับไปใช้ซ้ำ แต่ยังไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจไม่เอื้ออำนวย. - ผู้แต่ง.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
ชนิดของทรัพยากร Location Call number สถานะ Last seen Copy No. บาร์โค้ด
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2021-08-24 1 RP2008/1371
General Book
วว. เทคโนธานี
Available 2018-08-31 2 RP2008/1371-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Thailand Institute of Scientific and Technological Research
    35 Mu 3 Technopolis, Tambon Khlong Ha, Amphoe Khlong Luang, Pathum Thani 12120
    ☎ 0 2577 9000, 0 2577 9300